โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง”
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” ”
ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐานิดา นิรกุล ตำแหน่ง ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง”
ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1501-2-001 เลขที่ข้อตกลง 015/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1501-2-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ประเทศไทย พบว่า อัตราการคลอดของแม่วัยรุ่นในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และพบเพิ่มเติมว่าวัยรุ่นและเยาวชนอายุระหว่าง 10-25 ปี นั้นจำนวน 1 ใน 3 ไม่ได้ป้องกันการตั้งครรภ์ เมื่อมีเพศสัมพันธ์ประมาณครึ่งหนึ่งที่ใช้ถุงยางอนามัย และเพียงร้อยละ 10.7 เท่านั้น ที่ใช้ยาคุมกำเนิด ซึ่งการขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวางแผนคุมกำเนิด จะทำให้วัยรุ่นเกิดปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม จะเกิดผลกระทบที่ตามมาต่อตนเองทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมตามที่ปรากฏเป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ รวมทั้งเกิดผลกระทบต่อพ่อแม่
สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อมนั้นมีหลากหลาย ส่วนมากเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน การถูกละเมิดทางเพศ การใช้วิธีคุมกำเนิดไม่ถูกต้อง และปัญหาการเข้าถึงบริการคุมกำเนิด
จนทำให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม เนื่องจากสังคมไทย คนส่วนมากยังคงมีความเชื่อว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องต้องห้าม สกปรก และ
น่าอาย โดยเฉพาะกับวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่พ่อแม่และสังคมคาดหวังให้ทำหน้าที่ศึกษาเล่าเรียน พ่อแม่จึงไม่คุยกับลูกเรื่องเพศเพราะอายและเชื่อว่าอาจเป็นการชี้โพรงให้กระรอก อีกทั้งโรงเรียนส่วนใหญ่มุ่งเน้นความสำเร็จทางการศึกษามากกว่าทักษะในการใช้ชีวิตด้านต่างๆ
ทำให้เมื่อมีปัญหา หรือข้อข้องใจเกี่ยวกับเพศ วัยรุ่นจึงไม่กล้าปรึกษา ไม่กล้าเล่า กลัวถูกตำหนิ หันไปพึ่งอินเตอร์เน็ตและแลกเปลี่ยนความเห็นกันเองกับเพื่อน มีนักเรียนไทยน้อยกว่า 1 ใน 5 เท่านั้นที่ปรึกษาครูและผู้ปกครอง เช่น การมีแฟนที่ผู้ใหญ่มักจะรู้เป็นคนสุดท้าย ถึงแม้จะมีการสอนเพศศึกษาในโรงเรียน พฤติกรรมด้านการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นไทยก็ถือว่ารุนแรงและน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กบางส่วนไม่มีความรู้ และบางส่วนไม่เห็นความสำคัญ หรือไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ ไม่รู้วิธีการปฏิเสธเมื่อไม่ต้องมีเพศสัมพันธ์ ขาดความรู้ด้านสิทธิในร่างกายของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งการมีเพศสัมพันธ์ปลอดภัย ด้วยเหตุนี้จึงเกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเด็กมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาแม่ท้องวัยรุ่น แม่เลี้ยงเดี่ยววัยรุ่น ปัญหาเด็กกำพร้า เป็นต้น
การให้การปรึกษาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมนี้เป็นการสำรวจปัญหาและหาหนทางแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคนิคการให้การปรึกษาต่างๆ เพื่อลดความวิตกกังวลกลัวว่าจะตั้งครรภ์เมื่อมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันให้การสนับสนุนและให้กำลังใจในการเปิดเผยการตั้งครรภ์กับผู้ใกล้ชิด และให้การปรึกษาทางเลือกในการตั้งครรภ์ต่อหรือยุติการตั้งครรภ์โดยมีข้อมูลที่รอบด้านในการตัดสินใจ เมื่อเลือกตั้งครรภ์ต่อจะต้องสำรวจปัญหาสังคมจิตใจที่อาจตามมาและให้การช่วยเหลือตามสภาพปัญหาและหรือส่งต่อตามความเหมาะสมดังนั้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์ จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อจะให้คำปรึกษาแนะนำแก่กลุ่มวัยรุ่นในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์ โดยจะดำเนินกิจกรรม “สายด่วนพี่สอนน้อง” ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งที่จะช่วยเหลือแนะนำวัยรุ่นที่มีปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้อย่างรวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย สามารถลดผลกระทบที่ตามมาทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” เพื่อลดปัญหาความรู้สึกกดดันทางจิตใจ เครียด วิตกกังวล เนื่องจากความเสียใจ กลัวพ่อแม่ผิดหวัง กลัวโรงเรียนไล่ออก รู้สึกอายต่อเพื่อนๆ รวมทั้งได้รับการให้การปรึกษาเปิดเผยการตั้งครรภ์กับบุคคลใกล้ชิดที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาทางเลือกเพื่อยุติการตั้งครรภ์หรือตั้งครรภ์ต่อ โดยจะได้รับข้อมูลคำแนะนำสำหรับแหล่งสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือทางสังคมจิตใจกรณีที่ตั้งครรภ์ต่อตามความเหมาะสมของปัญหา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ / “สายด่วนพี่สอนน้อง”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- สามารถลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ / “สายด่วนพี่สอนน้อง”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1501-2-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฐานิดา นิรกุล ตำแหน่ง ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” ”
ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐานิดา นิรกุล ตำแหน่ง ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1501-2-001 เลขที่ข้อตกลง 015/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1501-2-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ประเทศไทย พบว่า อัตราการคลอดของแม่วัยรุ่นในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และพบเพิ่มเติมว่าวัยรุ่นและเยาวชนอายุระหว่าง 10-25 ปี นั้นจำนวน 1 ใน 3 ไม่ได้ป้องกันการตั้งครรภ์ เมื่อมีเพศสัมพันธ์ประมาณครึ่งหนึ่งที่ใช้ถุงยางอนามัย และเพียงร้อยละ 10.7 เท่านั้น ที่ใช้ยาคุมกำเนิด ซึ่งการขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวางแผนคุมกำเนิด จะทำให้วัยรุ่นเกิดปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม จะเกิดผลกระทบที่ตามมาต่อตนเองทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคมตามที่ปรากฏเป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ รวมทั้งเกิดผลกระทบต่อพ่อแม่
สาเหตุของการตั้งครรภ์ไม่พร้อมนั้นมีหลากหลาย ส่วนมากเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและอนามัยการเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน การถูกละเมิดทางเพศ การใช้วิธีคุมกำเนิดไม่ถูกต้อง และปัญหาการเข้าถึงบริการคุมกำเนิด
จนทำให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม เนื่องจากสังคมไทย คนส่วนมากยังคงมีความเชื่อว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องต้องห้าม สกปรก และ
น่าอาย โดยเฉพาะกับวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่พ่อแม่และสังคมคาดหวังให้ทำหน้าที่ศึกษาเล่าเรียน พ่อแม่จึงไม่คุยกับลูกเรื่องเพศเพราะอายและเชื่อว่าอาจเป็นการชี้โพรงให้กระรอก อีกทั้งโรงเรียนส่วนใหญ่มุ่งเน้นความสำเร็จทางการศึกษามากกว่าทักษะในการใช้ชีวิตด้านต่างๆ
ทำให้เมื่อมีปัญหา หรือข้อข้องใจเกี่ยวกับเพศ วัยรุ่นจึงไม่กล้าปรึกษา ไม่กล้าเล่า กลัวถูกตำหนิ หันไปพึ่งอินเตอร์เน็ตและแลกเปลี่ยนความเห็นกันเองกับเพื่อน มีนักเรียนไทยน้อยกว่า 1 ใน 5 เท่านั้นที่ปรึกษาครูและผู้ปกครอง เช่น การมีแฟนที่ผู้ใหญ่มักจะรู้เป็นคนสุดท้าย ถึงแม้จะมีการสอนเพศศึกษาในโรงเรียน พฤติกรรมด้านการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นไทยก็ถือว่ารุนแรงและน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กบางส่วนไม่มีความรู้ และบางส่วนไม่เห็นความสำคัญ หรือไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ ไม่รู้วิธีการปฏิเสธเมื่อไม่ต้องมีเพศสัมพันธ์ ขาดความรู้ด้านสิทธิในร่างกายของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งการมีเพศสัมพันธ์ปลอดภัย ด้วยเหตุนี้จึงเกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเด็กมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาแม่ท้องวัยรุ่น แม่เลี้ยงเดี่ยววัยรุ่น ปัญหาเด็กกำพร้า เป็นต้น
การให้การปรึกษาวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมนี้เป็นการสำรวจปัญหาและหาหนทางแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคนิคการให้การปรึกษาต่างๆ เพื่อลดความวิตกกังวลกลัวว่าจะตั้งครรภ์เมื่อมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันให้การสนับสนุนและให้กำลังใจในการเปิดเผยการตั้งครรภ์กับผู้ใกล้ชิด และให้การปรึกษาทางเลือกในการตั้งครรภ์ต่อหรือยุติการตั้งครรภ์โดยมีข้อมูลที่รอบด้านในการตัดสินใจ เมื่อเลือกตั้งครรภ์ต่อจะต้องสำรวจปัญหาสังคมจิตใจที่อาจตามมาและให้การช่วยเหลือตามสภาพปัญหาและหรือส่งต่อตามความเหมาะสมดังนั้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์ จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อจะให้คำปรึกษาแนะนำแก่กลุ่มวัยรุ่นในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์ โดยจะดำเนินกิจกรรม “สายด่วนพี่สอนน้อง” ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งที่จะช่วยเหลือแนะนำวัยรุ่นที่มีปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้อย่างรวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย สามารถลดผลกระทบที่ตามมาทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” เพื่อลดปัญหาความรู้สึกกดดันทางจิตใจ เครียด วิตกกังวล เนื่องจากความเสียใจ กลัวพ่อแม่ผิดหวัง กลัวโรงเรียนไล่ออก รู้สึกอายต่อเพื่อนๆ รวมทั้งได้รับการให้การปรึกษาเปิดเผยการตั้งครรภ์กับบุคคลใกล้ชิดที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาทางเลือกเพื่อยุติการตั้งครรภ์หรือตั้งครรภ์ต่อ โดยจะได้รับข้อมูลคำแนะนำสำหรับแหล่งสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือทางสังคมจิตใจกรณีที่ตั้งครรภ์ต่อตามความเหมาะสมของปัญหา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ / “สายด่วนพี่สอนน้อง”
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
- สามารถลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในพื้นที่ตำบลบ้านโพธิ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ / “สายด่วนพี่สอนน้อง”
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร “สายด่วนพี่สอนน้อง” จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1501-2-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฐานิดา นิรกุล ตำแหน่ง ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบ้านโพธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......