กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา


“ โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเวศ อาจยะมะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5166-3-06 เลขที่ข้อตกลง 9/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5166-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยไดเขาสูการเปนสังคมสูงวัย (Ageing Society) มาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนมา โดย ๑ ใน ๑๐ ของประชากรไทยเปนประชากรที่มีอายุตั้งแต ๖๐ ปขึ้นไป ในป พ.ศ. ๒๕๖๓ จะมีประชากรสูงอายุถึง ๑๓ ลานคน คิดเปนรอยละ ๑๙.๒ ของประชากรทั้งหมด และภายในป พ.ศ. ๒๕๘๓ ประเทศไทยจะมีประชากร สูงอายุ ๒๑.๗ ลานคน คิดเปนรอยละ ๓๓.๑ ของประชากรทั้งหมด (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ, ๒๕๕๓) แนวโนมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรจะมีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะ ที่วัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดสวนลดลง โดยวัยเด็กมีอัตราลดลงรอยละ ๑๒.๓ ตอป และวัยแรงงานมีอัตราลดลง รอยละ ๗.๕ ตอป ในขณะที่ วัยสูงอายุมีอัตราเพิ่มขึ้น รอยละ ๓.๖ ตอป (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ, ๒๕๖๐) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรสูสังคมสูงอายุของประเทศไทยมีสาเหตุหลัก มาจากอัตราการเจริญพันธุที่ลดลง (Total Fertility Rate) ที่อยูตํ่ากวาระดับการทดแทน โดยที่ปจจุบัน ผูหญิง ๑ คนมีบุตรเฉลี่ย ๑.๖ คน ซึ่งลดลงจากเมื่อ ๒๐ ปที่ผานมา (พ.ศ. ๒๕๔๒) ที่ ผูหญิง ๑ คน มีบุตรเฉลี่ย ๒ คน และบุตรเฉลี่ยจะลดลงเหลือ ๑.๔ คนในป พ.ศ. ๒๕๗๒ ประกอบกับ ความเจริญกาวหนาทางการแพทยและ สาธารณสุขทําใหคนไทยมีอายุขัยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จากเดิมเมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๘ คนไทยมีอายุเฉลี่ยที่ ๕๘ ป และเพิ่ม สูงขึ้นเปน ๗๕ ป ในปจจุบัน (สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ, ๒๕๖๒)ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๒ ในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ แผนปฏิบัติการดานผูสูงอายุ ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๖๕) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๓ ) และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ครอบคลุม ๔ มิติ(มิติสุขภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม) รวมถึงสร้างความเข้มแข็งการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ประกอบกับ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรี มีมติด้านการคุ้มครองสถานภาพผู้สูงอายุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรหลักในการดำเนินงานร่วมกับภาครัฐ ภาคประชาชนในท้องถิ่น โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อนได้รับการดูแล จากการสำรวจภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลคลองหลาปีงบประมาณ ๒๕๖5 พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 887 คน เมื่อแบ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันดัชนีบาร์เธอเอดีแอล(Barthel ADL Index) ในผู้สูงอายุ จำนวน 887 คน พบว่าเป็นผู้สูงอายุกลุ่ม 1 พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL ตั้งแต่ ๑๒ขึ้นไป) จำนวน ๖๘๘ คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๒ พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๕-๑๑) จำนวน 5 คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๓ พึ่งตนเองไม่ได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๐-๔ ) จำนวน  20 คนประกอบกับตำบลคลองหลา ได้เข้าร่วมในการดำเนินงานตำบล( Long term care)เพื่อให้กระบวนการดำเนินงาน Long term care ในพื้นที่ตำบลคลองหลา ดำเนินการต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตามเกณฑ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คือ Care giver(ผู้ดูแลผู้สูงอายุ) 1 คนดูแลผู้สูงอายุจำนวน 5 คนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลคลองหลา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีความรู้ ความเข้าใจ มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงสามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๒.เกิดระบบบริการดูแลระยะยาวในชุมชนสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานดูแลระยะยาวสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงตำบลคลองหลา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5166-3-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเวศ อาจยะมะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด