โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-27 เลขที่ข้อตกลง 26/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1485-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลยุทธ์สำคัญในการบรรลุเป้าหมายของการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า เป็นการเพิ่มสมรรถนะของบุคคลให้สามารถปรับภาวะสุขภาพของตนให้ดีขึ้น เพื่อให้บรรลุสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมสอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2560 มีแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสุขภาพ โดยถือว่าสุขภาพดีทั้งสุขภาวะทางกาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ และสติปัญญาเป็นศีลธรรมขั้นพื้นฐานของสังคม เพื่อการสร้างสุขภาวะดีในทุกช่วงวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนกระทั่งเสียชีวิต โดยการควบคุมหรือลดพฤติกรรมเสี่ยงและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เมื่อมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในทางที่เหมาะสม จะช่วยเพิ่มศักยภาพของบุคคล ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด จึงมีความสำคัญที่จะช่วยให้การตั้งครรภ์นั้น ดำเนินไปจนครบกำหนดคลอด
การตั้งครรภ์ ถือเป็นภาวะปกติของสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของบทบาทการเป็นมารดา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงในระยะตั้งครรภ์ จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลำปลอก พบว่า ปีงบประมาณ 2563 มีหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมด 12 ราย แท้ง 2 ราย ,ปีงบ 2564 มีหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมด 23 ราย แท้ง 2 ราย และมี ทารกตายในครรภ์จำนวน 1 ราย และปี งบ ประมาณ 2565 มีหญิงทั้งครรภ์ ทั้งหมด 4 ราย ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนาไม่ควรมีทารกตายในครรภ์ จากการประเมินความรู้ของหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์พบว่าหญิงตั้งครรภ์ยังขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว ซึ่งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเป็นการแสดงออกของหญิงตั้งครรภ์ถึงการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีของหญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และชุมชนรวมทั้งส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้ในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด
จากที่กล่าวมา หากหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ดี ก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพทั้งมารดาและทารก หากมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพไม่เหมาะสม อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดได้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุกขึ้น เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
13
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- ไม่มีอัตราป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์
- หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
13
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
13
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (2) เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์ (3) เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-27 เลขที่ข้อตกลง 26/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1485-1-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลยุทธ์สำคัญในการบรรลุเป้าหมายของการมีสุขภาพดีถ้วนหน้า เป็นการเพิ่มสมรรถนะของบุคคลให้สามารถปรับภาวะสุขภาพของตนให้ดีขึ้น เพื่อให้บรรลุสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมสอดคล้องกับแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2560 มีแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาสุขภาพ โดยถือว่าสุขภาพดีทั้งสุขภาวะทางกาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ และสติปัญญาเป็นศีลธรรมขั้นพื้นฐานของสังคม เพื่อการสร้างสุขภาวะดีในทุกช่วงวัย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนกระทั่งเสียชีวิต โดยการควบคุมหรือลดพฤติกรรมเสี่ยงและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เมื่อมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในทางที่เหมาะสม จะช่วยเพิ่มศักยภาพของบุคคล ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด จึงมีความสำคัญที่จะช่วยให้การตั้งครรภ์นั้น ดำเนินไปจนครบกำหนดคลอด การตั้งครรภ์ ถือเป็นภาวะปกติของสตรีวัยเจริญพันธุ์เป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของบทบาทการเป็นมารดา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงในระยะตั้งครรภ์ จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลำปลอก พบว่า ปีงบประมาณ 2563 มีหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมด 12 ราย แท้ง 2 ราย ,ปีงบ 2564 มีหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมด 23 ราย แท้ง 2 ราย และมี ทารกตายในครรภ์จำนวน 1 ราย และปี งบ ประมาณ 2565 มีหญิงทั้งครรภ์ ทั้งหมด 4 ราย ซึ่งประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนาไม่ควรมีทารกตายในครรภ์ จากการประเมินความรู้ของหญิงตั้งครรภ์ในเรื่องการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์พบว่าหญิงตั้งครรภ์ยังขาดความรู้ในการปฏิบัติตัว ซึ่งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเป็นการแสดงออกของหญิงตั้งครรภ์ถึงการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันมีจุดมุ่งหมายเพื่อดำรงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีของหญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว และชุมชนรวมทั้งส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้ในระยะตั้งครรภ์และหลังคลอด จากที่กล่าวมา หากหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ดี ก็จะส่งผลดีต่อสุขภาพทั้งมารดาและทารก หากมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพไม่เหมาะสม อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดได้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำปลอก จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุกขึ้น เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 13 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- ไม่มีอัตราป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์
- หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 13 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 13 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (2) เพื่อลดอัตราการป่วยตายจากภาวะการตั้งครรภ์ (3) เพื่อให้หญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองและทารกแรกเกิดได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเชิงรุก จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณัฐวรา ปราบแทน ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......