กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสยมภู รักษ์สังข์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1504-5-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1504-5-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,678.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ระบาดไปทั่วโลก ประเทศไทยโดยกรมควบคุมโรคได้เปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน(Emergency operation Center :EOC) ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2563  เพื่อตอบโต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และเริ่มคัดกรองหาผู้ติดเชื้อที่ช่องทางเข้าออกประเทศ  ระยะต่อมามีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นต่อเนื่องภายในประเทศ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2563 กำหนดให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือCOVID – 19 เป็นโรคติดต่ออันตราย ลำดับที่ 14 ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตราย    ในระยะต่อมาพบผู้ติดเชื้อเป็นกลุ่มก้อน(Cluster)เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุให้รัฐบาลต้องยกระดับ การบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID – 19ในประเทศไทย ให้อยู่ในวงจำกัด โดยสั่งการให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันภายในขอบเขตอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมาย และจัดตั้งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2563 กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยขอให้ส่วนราชการ หน่วยงานราชการ เอกชนทุกแห่งดำเนินการตามมาตรการอย่างเคร่งครัดและขอความร่วมมือประชาชนและผู้ดูแลสถานประกอบการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะการสวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ ลดการเดินทางที่ไม่จำเป็น เว้นระยะห่าง เป็นต้น       จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนปกติ(On site) ได้ตั้งแต่ เดือน เมษายน พ.ศ. 2563 ตลอดจนปีการศึกษา 2564 แต่เด็กปฐมวัยยังคงจำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง  ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือจึงได้จัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ใบงาน (On hand)  โดยทุกครั้งที่ผู้ปกครองมารับใบงาน ได้ดำเนินการตามมาตรการของรัฐอย่างเคร่งครัดมาโดยตลอด       โดยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่คลี่คลายลง และตามคำสั่งจังหวัดตรัง ที่ 1574 /2565 เรื่อง มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ในพื้นที่จังหวัดตรัง ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ได้มีแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร COVID-Free Setting สำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย    ในจังหวัดตรัง กำหนดแนวทางด้านการตรวจคัดกรองเชื้อ โดยกำหนดให้บุคลากรของศูนย์ฯ เด็ก ผู้ปกครอง ต้องได้รับการตรวจ Antigen Test Kit (ATK) /RT PCR ครบ 100% ก่อนเปิดสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยรวมถึงด้านการเฝ้าระวังและป้องกันโรคตามมาตรการ DMHTA เว้นระยะห่าง สวมหน้ากาก ล้างมือ วัดอุณหภูมิและลงทะเบียนผ่านแอพพลิเคชั่นอย่างเคร่งครัดมุ่งลดการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อโดยยึดหลัก Universal Prevention ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้รับบริการนั้น     ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือมีความตระหนักถึงความรับผิดชอบในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวมถึงผู้มาติดต่อราชการมาโดยตลอด ซึ่งในปีการศึกษา 2564 ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งกระบือแล้ว แต่วัสดุ อุปกรณ์ เกิดความชำรุด หมดสภาพจากการใช้งานไป ด้วยเหตุนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง โรคโควิด - 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้นต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อเมื่ออยู่ภายในและภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 8
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและครูของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการคัดกรองเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
        2. เด็กและครูของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปราศจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
        3. เด็กและครูของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือปลอดภัยจากโรคติดต่อ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อเมื่ออยู่ภายในและภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 8
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อเมื่ออยู่ภายในและภายนอกศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 65-L1504-5-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสยมภู รักษ์สังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด