กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง


“ โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี ดวงมะลิ

ชื่อโครงการ โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5191-02-03 เลขที่ข้อตกลง 12/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2565 ถึง 30 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5191-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2565 - 30 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว โดยเฉพาะการตั้งครรภ์ครั้งแรกการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยาการเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับ การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่พบในทุกภูมิภาคของประเทศโดยเกิดขึ้นต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเป็นสาเหตุการตายของมารดาและทารกที่พบบ่อย จากการศึกษาพบว่าสาเหตุการตายของดามีความสัมพันธ์กับการมีภาวะโลหิตจางร่วมด้วยถึงร้อยละ ๔๐ (ธีระ ทองสงและชเนนทร์ วนาภิรักษ์:๒๕๓๕ ) ซึ่งสาเหตุของการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กจะส่งผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์โดยในช่วงแรกทำให้อัตราการตายของมารดาและทารกระหว่างการคลอดสูง การตั้งครรภ์จะทำให้เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดและทารกแรกเกิดคลอดน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ นอกจากนี้ยังส่งผลทำให้เด็กที่เกิดมามีพัฒนาการทางสมองลดลง เกิดผลเสียต่อการเรียนรู้ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์นั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุด อุบัติการณ์พบได้สูงถึงร้อยละ ๓๐ ในบางพื้นที่ (WHO 1989)ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.ตาแปด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ขึ้น เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ตลอดจนหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ เพื่อคุณภาพชีวิตของมารดาที่มีความสำคัญต่อทารกที่จะเป็นเยาวชนของชาติโดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเอง อันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
  3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันภาวะซีดเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี ครอบครัว จำนวน 112 คน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการสาธิตการทำอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง+ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านโดยภาคีเครือข่าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 56
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คู่สมรส 56

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 10 2.การจัดบริการให้สามีเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดาและบุตรทำให้สามีมีความภาคภูมิใจที่มีส่วนทำให้ลูกในครรภ์มีความปลอดภัย และพึงพอใจในบริการมากขึ้น
3. ความรักในครอบครัวที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์นำพาให้เกิดความมือแก้ไขภาวะแทรกซ้อนอย่างจริงจัง โดยสามีเป็นผู้นำในการแก้ไขปัญหาทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมากขึ้น
4. ความรักในครอบครัวเสริมแรงให้หญิงตั้งครรภ์ สนใจดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อลูกในครรภ์ คลอดปลอดภัย
5. เครือข่าย อสม.มีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก อันส่งผลให้มารดาและทารก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
58.00 80.00

 

2 เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย เพิ่มขึ้น
70.00 90.00

 

3 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันภาวะซีดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันภาวะโลหิตจางเพิ่มขึ้น
70.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 56
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คู่สมรส 56

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (3) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันภาวะซีดเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี ครอบครัว จำนวน 112  คน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการสาธิตการทำอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง+ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่บ้านโดยภาคีเครือข่าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหญิงตั้งครรภ์ยุคใหม่ ห่างไกลภาวะซีด ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5191-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรรณี ดวงมะลิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด