กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
รหัสโครงการ 65-L5309-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลกำเเพง
วันที่อนุมัติ 21 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 103,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลกำเเพง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาลตำบลกำแพง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 103,000.00
รวมงบประมาณ 103,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 249 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1280 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 2631 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 850 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศทั้งโรคติดต่อประจำถิ่น โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เช่น โรคโควิด-19 ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ มือเท้าปาก เป็นต้น จากการรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรงพยาบาลประจำอำเภอละงู ในปี พ.ศ.2564 มีโรคที่ต้องเฝ้าระวังที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากร 10 อันดับแรกของอำเภอละงู ได้แก่ อุจจาระร่วง 172 ราย โรคปอดอักเสบ จำนวน 42 ราย โรคมือเท้าปาก จำนวน 10 ราย โรคอีสุกอีใส จำนวน 8 ราย อาหารเป็นพิษ จำนวน 4 ราย ไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำนวน 2 ราย โรคฉี่หนู จำนวน 2 ราย โรคหนองใน จำนวน 2 ราย โรคตาแดง จำนวน 2 ราย ซึ่งปัญหาการเกิดโรคติดต่อ นอกจากจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจและสังคม ของผู้ป่วยแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอีกด้วย ดังนั้น การเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อจึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีความครอบคลุม รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ และเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การดำเนินงานจึงต้องสร้างเครือข่ายในชุมชนที่มีคุณภาพและมีทักษะในการดำเนินงานได้ทันต่อสถานการณ์กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลกำเเพง ได้ตระหนักถึงปัญหาโรคติดต่อที่มีผลกระทบต่อประชาชนในด้านต่างๆจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ

 

0.00
2 เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อและลดอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 103,000.00 0 0.00
4 ก.ค. 65 - 15 ธ.ค. 65 เดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน ในการป้องกันโรคโควิด-19 โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ในครอบครัวและในชุมชน การฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 0 7,500.00 -
4 ก.ค. 65 - 15 ธ.ค. 65 ดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนโรคและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยการตรวจคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK โดย อสม.ในชุมชน 0 93,000.00 -
4 ก.ค. 65 - 15 ธ.ค. 65 ดำเนินการสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย แจกทรายอะเบทและเอกสารแผ่นพับในชุมชน 0 2,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ 2.ประชาชนมีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อลดลงและมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ลดลง 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุม การระบาดของโรคติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 มิ.ย. 2565 15:50 น.