กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏศิริ พูดเพราะ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L8429-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย เป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียทั้งชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล มีการพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องทุกปี แม้ว่าหลายภาคส่วนได้ร่วมมือรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอดแล้วก็ตาม     อำเภอสิเกาเป็นพื้นที่ ที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง มีการกระจายของผู้ป่วยทุกตำบล สำหรับตำบลบ่อหิน พบอัตราป่วยในปี 2564 เท่ากับ 5.47 ต่อแสนประชากร พบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี รองลงมาคือกลุ่มอายุ 25-34 ปี และเมื่อจำแนกตามการประกอบอาชีพผู้ป่วย พบว่าเป็นนักเรียน 5 ราย เป็นเกษตรกร 3 ราย และรับจ้าง 2 ราย โดยพบจำนวนผู้ป่วยสูงสุดในเดือนพฤษภาคมถึง 5 ราย ซึ่งเป็นไปตามหลักการระบาดของไข้เลือดออก ที่พบผู้ป่วยช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – ตุลาคมของทุกปี     จากการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในชุมชนเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลสิเกา พบว่ามีค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) =20 และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะที่มีน้ำขัง (CI) =10 ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนด คือค่าHI ≤10 และค่า CI=0     การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องสร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน มีการร่วมวางแผน และดำเนินกิจกรรม เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา เช่น การจัดการด้านสุขาภิบาลของบ้านเรือน ตามหลัก 3 เก็บ ( เก็บน้ำ เก็บบ้าน และเก็บขยะ) หมั่นสำรวจลูกน้ำยุงลายในภาชนะที่มีน้ำขังและบริเวณบ้าน ตลอดทั้งร่วมกำหนดมาตรการทางสังคม เพื่อให้ครัวเรือนมีความรับผิดชอบในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อย่างต่อเนื่อง
    จากความสำคัญดังกล่าว กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและชุมชน โรงพยาบาลสิเกา จึงจัดทำโครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 225
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ชุมชนสามารถดูแลตนเองและสามารถดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานโครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประกอบด้วยผู้นำชุมชน ประธานอสม. ผู้แทนจากอบต.บ่อหิน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
2.ประชาสัมพันธ์และชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน 3.จัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับภูมิทัศน์สิ่งแวดล้อมในชุมชน 4.ให้ความรู้โรคไข้เลือดออก และวิธีการป้องกัน ควบคุมโรคผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว
5.ประชาสัมพันธ์การรับสมัครครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย 6.จัดกิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย
7.ติดตามประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย( HI,CI ) ทุกหมู่บ้าน ทุกเดือนโดยอสม.แต่ละหมู่บ้านไขว้กันติดตามประเมินผล
8.มอบเกียรติบัตรแก่บ้านที่ปลอดลูกน้ำยุงลาย ชุมชนละ 3 รางวัล 9.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนสามารถดูแลตนเองและสามารถดำเนินกิจกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน

 

225 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90ของครัวเรือน ร่วมกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะ
90.00

 

2 เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายผ่านเกณฑ์ ( HI ≤ 10, CI = 0)
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 225
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านให้ถูกสุขลักษณะอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนสะอาด บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L8429-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวณัฏศิริ พูดเพราะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด