กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา


“ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565 ”

ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.อินตรานี สะมะแอลีมา ประธาน อสม.หมู่ที่ 7

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4140-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4140-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำพะยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้ เด็กที่มีอายุ 0 - 5 ปี ต้องได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ เพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน แต่ปัจจุบันพบว่าในหลายพื้นที่ของจังหวัดยะลา โดยเฉพาะในเขตอำเภอชายแดน อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งทางด้านบริบทของพื้นที่ความเชื่อ ทัศนคติ ฯลฯ โดยพบว่าเด็กที่มีอายุ 0 - 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อต่างๆ ได้มากกว่า เช่น โรคคอตีบ โรคไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ ไข้สมองอักเสบ หัด เป็นต้น ซึ่งโรคเหล่านี้หากเกิดขึ้น ความรุนแรงและอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูง โดยเฉพาะโรคหัด ซึ่งเป็นโรคที่กำลังระบาดในพื้นที่จังหวัดยะลาจากข้อมูลในช่วงวันที่ 1 กันยายน ถึง 9 ตุลาคม 2561 พบมีผู้ป่วยจำนวน 341 รายมีการระบาดกระจายทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีผู้ป่วยสูงสุดคืออำเภอยะหา จำนวน 93 ราย, อำเภอบันนังสตา 54 ราย, อำเภอธารโต 52 ราย, อำเภอกรงปินัง และอำเภอกาบัง 39 ราย, อำเภอเมืองยะลา 38 ราย, อำเภอรามัน 21 รายและอำเภอเบตง 5 ราย โดยพบมีผู้เสียชีวิตแล้ว 5 ราย แบ่งเป็นอำเภอกรงปินัง 3 ราย, อำเภอบันนังสตา 1 ราย และ อำเภอธารโต 1 ราย ตัวชี้วัดและเป้าหมายตามยุทธศาสตร์สาธารณสุข จังหวัดยะลา ปี 2561 ได้กำหนดให้มีความครอบคลุมการให้บริการวัคซีนใน เด็กอายุ 0 - 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำเนียบ ที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประชากรเด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 3 ปี และ 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 179 คน และวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวน 154 คน คิดเป็นร้อยละ 86.03 ซึ่งยังไม่บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ได้ร้อยละ 90 ซึ่งเป็นการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเท่าที่ควรทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ดังนั้นการดำเนินงานในกิจกรรมงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กรชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. ในการติดตามเด็ก 0 - 5 ปีที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนได้ ฉะนั้นความร่วมมือจากหลายๆฝ่ายทำให้ชุมชนห่างไกลจากโรคติดต่อต่างๆได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำเนียบ ได้จัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ อายุ
  2. 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
  3. 3. เพื่อให้เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กที่ขาดนัดรับวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนในผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุครบ 1 ปี 2 ปี 3 ปี และ 5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบตามเกณฑ์
  2. เด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกิดโรคติดต่อสามารถป้องกันได้ด้วยวัคชีน
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคชีนเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ อายุ
ตัวชี้วัด : 1.เด็กอายุ ครบ 1 ปี 2 ปี 3 ปี และ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ อายุ
0.00 0.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : 2.เด็กอายุ 0-5 ปี ลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
0.00

 

3 3. เพื่อให้เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กที่ขาดนัดรับวัคซีน
ตัวชี้วัด : 3.ผู้ปกครองมี จำนวน 70 คน มีความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากการทำแบบสอบถามก่อน/หลังการอบรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 70 70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ อายุ (2) 2. เพื่อลดอัตราการป่วยตายในโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน (3) 3. เพื่อให้เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กในเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กที่ขาดนัดรับวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนในผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0–5 ปี ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4140-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.อินตรานี สะมะแอลีมา ประธาน อสม.หมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด