กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5200-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 ตุลาคม 2560 ถึง 30 ตุลาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5200-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 ตุลาคม 2560 - 30 ตุลาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเครื่องดื่มหลากหลายประเภทได้รับความนิยมสูงมากขึ้น เช่น น้ำผลไม้ น้ำอัดลมหลากสี น้ำชาจีน ชาเขียว ทั้งแต่งแต้มรสชาด กลิ่นและสีให้แปลกใหม่ ซึ่งหาซื้อได้ง่ายตามร้านสะดวกซื้อ และเด็กมักสนุกที่จะเลือกหยิบได้ตามความต้องการ ขณะที่อิทธิพลจากโฆษณามีผลกระตุ้นให้เด็กอยากรู้ อยากลองชิมมากขึ้น ซึ่งอาจติดใจจนกลายเป็นเครื่องดื่มแทนน้ำเปล่า ทำให้เด็กเริ่มติดรสหวาน และกินบ่อยเป็นประจำจนกลายเป็นเด็กอ้วนได้ง่าย พ่อแม่ หรือผู้ปกครองคงไม่สามารถปิดกั้นไม่ให้เด็กเลือกดื่มเครื่องดื่มเหล่านี้ได้ แต่ควรแนะนำให้เลือกสรรสิ่งที่มีประโยชน์ และมีคุณค่าทางสารอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก เช่น นมรสจืด เครื่องดื่มจากน้ำผลไม้สด หรือเครื่องดื่มจากพืชผักและสมุนไพรต่างๆ เพราะมีสารอาหารหลายชนิด ทั้งวิตตามินซี เกลือแร่ นอกจากนี้ถ้ามีการใส่นมเพื่อเพิ่มรสชาด จะได้รับแคลเซียมเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้น เครื่องดื่มที่ทำจากผักผลไม้สามารถทำได้ง่าย ราคาไม่แพงสามารถนำพืชผักที่มีอยู่แถวบ้านนำมาทำเป็นเครื่องดื่มทั้งยังมีประโยชน์ สามารถรักษาโรคได้ในบางตัว และมีผลดีต่อสุขภาพร่าวกายเราเองไม่มีสารเคมีปนเปื้อน ปลอดภัย และสะอาด เก็บไว้ได้นานกว่าเครื่องดื่มทีมีสารสีผสมอาหารผสมอยู่ สถานการณ์ ตอนนี้ในตำบลนาทวี ไม่ว่าจะเป็นงานแต่งงาน งานบวช โดยเฉพาะงานศพ จะนิยมใช้น้ำผลไม้ปรุงแต่งกลิ่นสี เป็นขวดเล็กๆ ซึ่งมีผลเสียต่อสุขภาพ เพราะในน้ำผลไม้ขวด มีเฉพาะกลิ่น สี และน้ำตาลเป็นส่วนประกอบเท่านั้น ไม่ด้มีผลไม้จริงๆ แถมเป็นการเพิ่มปริมาณขยะ และไม่มีประโยชน์ ในการนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลนาทวี จัดให้มีการอบรมให้ความรู้ ประโยชน์ทางยาของพืช ผัก ผลไม้ และการนำผัก ผลไม้ สมุนไพร มาปรุงเป็นน้ำผัก ผลไม้ น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ภายใต้โครงการ "อสม. รวมใจ ผลิตน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ"

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม. ทราบประโยชน์ทางยา ของพืช ผัก ผลไม้ชนิดต่างๆ
  2. เพื่อให้ อสม. นำผัก ผลไม้ มาแปรรูปเป็นน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชยหันมาดื่ม/ทำน้ำสมุนไพรดื่มเองมากขึ้น และขยายผลเอาไปใช้ตามงานพิธี หรือกิจกรรมต่างๆ แทนน้ำอัดลม และน้ำผลไมเปรุงแต่ง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ อสม. ทราบประโยชน์ทางยา ของพืช ผัก ผลไม้ชนิดต่างๆ
    ตัวชี้วัด : อสม. ทราบประโยชน์ทางยาของพืช ผัก ผลไม้แต่ละชนิด ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ อสม. นำผัก ผลไม้ มาแปรรูปเป็นน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพได้
    ตัวชี้วัด : อสม. นำผัก ผลไม้ มาแปรรูป เป็นน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพได้ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ทราบประโยชน์ทางยา ของพืช ผัก ผลไม้ชนิดต่างๆ (2) เพื่อให้ อสม. นำผัก ผลไม้ มาแปรรูปเป็นน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    อสม. ร่วมใจ ผลิตน้ำสมุนไพร เพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5200-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด