กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕ ”

ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุณีย์ นิ่มดวง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕

ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ และถือว่าเป็น ''ภัยเงียบ'' เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต เท้า หลอดเลือดและหัวใจในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ด้วยสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป และบางรายที่ไม่ทราบว่าเป็นโรคเบาหวานจึงไม่ได้ดูแลตยเองให้ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ ซึ่งการที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานาน ยื่งส่งผลให้เกิดภาวะเเทรกซ้อนต่อเท้า ไต ตา ระบบประสาท หัวใจและหลอดเลือดสมอง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ และยังทำให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร   จากข้อมูล ปี พ.ศ.๒๕๖๔ พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน มีทั้งหมด ๑๖๔ ราย ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จำนวน ๑๒๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๖๑ และผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีทั้งหมด ๔๒๓ ราย ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน ๑๕๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๓๕ จะเห็นได้ว่าจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลได้และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ มีจำนวนมาก ถ้าไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้มีโอกาสเกิดภวะแทรกซ้อนสูง การให้ความรู้และสร้างความตระหนัก เป็นปัจจัยสำคัญที่กระตุ้นให้กลุ่มดังกล่าวปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรได้   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควนเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ และเฝ้าระวังภาวะน้ำตาลในเลือด ระดับความดันโลหิต และเห็นว่า การจะป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืนนั้น ต้องอาศัยการทำงานเชิงรุก การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วนและใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน ดังนั้น และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน ร่วมกับ อาสาสมัครสาธารสุข ประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสาธารณสุขตำบลบ้านหัวควน จึงจัดทำโครงการสร้างสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕ เพื่อป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่าง ถูกต้อง
  2. 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดทำลงทะเบียน ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่่ได้
  2. 2. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น และจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการเกิดภาวะเเทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. 3. จัดประชุมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันภาวะเเทรกซ้อนอย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ ๘๐
๒.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมี CVD ลดลงหลังได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่าง ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประเมินผลความรู้ พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย ก่อน - หลัง การอบรม

 

2 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : รายงานอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่าง ถูกต้อง (2) 2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดทำลงทะเบียน ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่่ได้ (2) 2. ตรวจสุขภาพเบื้องต้น และจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการเกิดภาวะเเทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) 3. จัดประชุมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างสุขภาพเปี่ยมสุขห่างไกลภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี ๒๕๖๕ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุณีย์ นิ่มดวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด