กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร ”

ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซอฟียา ไมมะหาด

ชื่อโครงการ โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร

ที่อยู่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5284-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5284-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สื่อการสอน (Instructional Media) เป็นเครื่องมือ หรือช่องทางสำหรับทำให้การสอนของผู้สอนไปถึงผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามจุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้เป็นอย่างดี สื่อที่ใช้ในการสอนนี้ อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ เช่นวัตถุสิ่งของตามธรรมชาติปรากฎการณ์ตามธรรมชาติวัตถุสิ่งของที่คิดประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นสำหรับการสอนคำพูดท่าทางวัสดุ และเครื่องมือสื่อสาร กิจกรรมหรือกระบวนการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ ความสำคัญของการใช้สื่อเป็นสิ่งที่ช่วยให้การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น ช่วยสร้างเสริมลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์จากการใช้สื่อเหล่านั้น
จากการคัดกรองความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ใน หมู่ที่ 5 -10 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ในช่วงไตรมาส ที่ 1 ปีงบประมาณ 2565 คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 1,953 ราย พบว่า เป็นกลุ่มปกติ 1,816 ราย(ร้อยละ 92.99)กลุ่มเสี่ยง 114 ราย(ร้อยละ 5.84) กลุ่มสงสัยป่วย 15 ราย(ร้อยละ 0.77) ผู้ป่วยรายใหม่ 13 ราย(ร้อยละ 10.08 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย)ผู้ป่วยสะสม 218 ราย(ร้อยละ 4.14 ของประชากรทั้งหมด)คัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,558 บาท พบว่า เป็นกลุ่มปกติ 1,377 ราย(ร้อยละ 88.38) กลุ่มเสี่ยง 111 ราย(ร้อยละ 5.68) สงสัยป่วย 68 ราย(ร้อยละ 3.48) ผู้ป่วยรายใหม่ 17 ราย(ร้อยละ 9.50 ของกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วย) ผู้ป่วยสะสม 661 ราย(ร้อยละ 12.54 ของประชากรทั้งหมด) โรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยส่วนใหญ่ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีสาเหตุหลักๆ มาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องสะสมเป็นเวลานาน นั่นก็คือ พฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร ด้านการออกกกำลังกาย ด้านการพักผ่อนให้เพียงพอ การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอลล์ หรือตามหลัก 3 อ. 2 ส. นั่นเอง หากประชาชนทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง หรือคนที่เป็นโรคแล้ว ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นได้ ก็จะส่งผลต่อการเกิดโรค การเพิ่มความรุนแรงของโรคที่เป็นอยู่ และเพิ่มความเสี่ยงด้านอื่น ๆ ที่ตามมา เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง เกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง เบาหวานขึ้นตาภาวะปลายประสาทอักเสบ แผลเบาหวานที่เท้า การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อราที่ผิวหนัง อาการคัน และปัญหาอื่น ๆ ในการจัดทำสื่อชุดโมเดลอาหารนี้ เพื่อเป็นเครื่องมือสื่อการสอน ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior Modification) ที่ดีของคนในชุมชนควนสตอเน้นการส่งเสริมการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ตามหลัก 3 อ. 2 ส. โดยนำสื่อชุดโมเดลเครื่องปรุงอาหาร ให้ที่ผู้เรียนรู้สามารถมองเห็นภาพ เข้าใจ กะปริมาณการใช้เครื่องในการประกอบอาหาร แล้วสามารถนำไปปรับใช้ในการบริโภคของตนเอง สามารถเลือกบริโภคอาหารที่มี น้ำตาล เกลือ ไขมัน ในปริมาณที่เหมาะสมได้ เห็นฉลากอาหารแล้วสามารถเลือกได้ ว่าควรบริโภคอย่างไร ก่อเกิดเป็นพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและเหมาะสมกับตนเองดังนั้นกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลควนโดน จึงได้จัดทำโครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการใช้สื่อในกิจกรรม ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เครื่องปรุงอาหารได้ถูกต้อง เหมาะสม ข้อที่ 3 สามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีปริมาณ น้ำตาล เกลือ ไขมัน ที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายความพึงพอใจในการเรียนรู้ ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถกะปริมาณเครื่องปรุงที่ใช้ประกอบอาหาร และสามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีปริมาณ น้ำตาล เกลือ ไขมัน ที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับตนเองได้ 3. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น หรือสามารถคงภาวะสุขภาพของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการใช้สื่อในกิจกรรม ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เครื่องปรุงอาหารได้ถูกต้อง เหมาะสม ข้อที่ 3 สามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีปริมาณ น้ำตาล เกลือ ไขมัน ที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับตนเองได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อชุดสื่อโมเดลอาหาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เปรียบเทียบคะแนนความรู้และความเข้าในก่อน และหลังจัดกิจกรรม เปรียบเทียบคะแนนความถูกต้อง ในการอ่านฉลากโภชนาการ ก่อนและหลังจัดกิจกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการใช้สื่อในกิจกรรม  ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เครื่องปรุงอาหารได้ถูกต้อง เหมาะสม  ข้อที่ 3 สามารถเลือกซื้อสินค้าที่มีปริมาณ น้ำตาล เกลือ ไขมัน ที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดบริโภคหวาน-มัน-เค็ม ด้วยชุดสื่อโมเดลเครื่องปรุงอาหาร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5284-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซอฟียา ไมมะหาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด