โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ชื่อกลุ่มคน ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน 1.นางภคปภา เพชรขวัญ 2.นางสุณีย์ รักนุ่น 3.นางพรรณี ชูชื่น 4.นางกชกร ณรงค์ราช 1. 5.นางนิพาพร บุญแก้วคง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63 – L3336-................... เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63 – L3336-................... ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาการปวดกล้ามเนื้อ เอ็น กระดูกและข้อ เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อย ในทุกเพศทุกวัย ไม่ว่าจะทำงานออฟฟิศ หรือทำงานบ้าน สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก การทำงานที่นั่ง เดิน หรือเคลื่อนไหวร่างกายในท่าทาง อิริยาบถที่ไม่ถูกลักษณะบ่อยครั้ง หรือทำงานอยู่ในท่าเดิมซ้ำซ้ำเป็นเวลานานๆ หลายชั่วโมง ซึ่งท่าทางเหล่านี้ ทำให้เกิดการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออักเสบ หรือเอ็นอักเสบ ทำให้มีอาการปวดบริเวณต่างๆ เช่น ปวดหลัง ไหล่ บ่า แขน ข้อมือ หากมีอาการเป็นเวลานาน จะเกิดภาวะผังผืดบริเวณนั้น และทำให้มีอาการชาตามมา หลายคนเลือกที่จะบรรเทาความเจ็บปวดด้วยรับประทานยาแก้ปวด ลดการอักเสบ เมื่ออาการทุเลาลงก็กลับไปดำเนินชีวิตในรูปแบบเดิม ทำให้อาการปวดย้อนกลับมาใหม่ นานวันเข้าก็กลายเป็นอาการเจ็บปวดเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ซ้ำแล้วซ้ำอีก ทั้งยังต้องเสียเวลาและอาจต้องลาพักงานด้วย
การนวดอาจกล่าวได้ว่าเป็นการรักษาอาการปวดวิธีแรกที่มนุษย์เรารู้จัดตั้งแต่โบราณกาล เป็นวิธีทางธรรมชาติที่เกิดจากการเรียนรู้ เช่น ปวดตรงไหนก็ถู บีบนวดตรงนั้น ต่อมามีการสั่งสมประสบการณ์จนเป็นศาสตร์หนึ่งในการรักษา ปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่ง การนวด นอกจากจะนวดเพื่อการบำบัดรักษา แล้ว ยังเป็นการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อการฟื้นฟูสรรถภาพด้วย การนวดเพื่อการบำบัดรักษา จะมีประโยชน์มากในกลุ่มอาการปวด โดยเฉพาะปวดเมื่อย ปวดกล้ามเนื้อ ไม่ว่าจะเป็นปวดหลัง ปวดคอ ปวดไหล่ โรคเครียด หรือโรคนอนไม่หลับ ส่วนการนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ สามารถนวดได้ทุกคนโดยเฉพาะผู้สูงอายุ เพราะการนวดสามารถกระตุ้นระบบต่างๆของร่างกายทำให้กระปรี้กระเปร่า ผ่อนคลาย และนอนหลับสบาย หลังจากทำการนวดเสร็จเรียบร้อย ถ้าประคบด้วยสมุนไพร จะช่วยส่งเสริมการนวด ให้ผลการรักษาดีขึ้น เพราะ ตัวยาจากสมุนไพรและความร้อน ช่วยทำให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ช่วยทำให้ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ ลดปวด ช่วยลดอาการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อหลัง 24-48 ชั่วโมง และช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
คณะกรรมการ ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน บ้านหัวควน ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์และความสำคัญ ของภูมิปัญญาไทยนี้ จึงได้จัดทำ โครงการ “เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565” ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีความรู้ในการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในครอบครัวและชุมชนได้ เป็นการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งยังเป็นการส่งเสริมและสืบทอดภูมิปัญญาไทยอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดประชุมคณะกรรมการชมรมจิตอาสา เพื่อชี้แจง กิจกรรม
- 2.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้เรื่องกายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาเบื้องต้นและการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
- 3.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ การทำยาหม่องไพล การทำลูกประคบ และการนวดด้วยตนเอง
- 4.จัดกิจกรรม ประชุมแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน
- 5.จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านและแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน
- 6.สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม
2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปดูแลสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเองครอบครัวและชุมชนได้
3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในภูมิปัญญาการนวดไทยและสมุนไพรไทย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
- ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้ถูกต้อง
-ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถผู้ทำยาหม่องไพลและลูกประคบเพื่อบรรเทาปวดได้ถูกต้อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมคณะกรรมการชมรมจิตอาสา เพื่อชี้แจง กิจกรรม (2) 2.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้เรื่องกายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาเบื้องต้นและการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ (3) 3.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ การทำยาหม่องไพล การทำลูกประคบ และการนวดด้วยตนเอง (4) 4.จัดกิจกรรม ประชุมแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน (5) 5.จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านและแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน (6) 6.สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63 – L3336-...................
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชื่อกลุ่มคน ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน 1.นางภคปภา เพชรขวัญ 2.นางสุณีย์ รักนุ่น 3.นางพรรณี ชูชื่น 4.นางกชกร ณรงค์ราช 1. 5.นางนิพาพร บุญแก้วคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 ”
ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ชื่อกลุ่มคน ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน 1.นางภคปภา เพชรขวัญ 2.นางสุณีย์ รักนุ่น 3.นางพรรณี ชูชื่น 4.นางกชกร ณรงค์ราช 1. 5.นางนิพาพร บุญแก้วคง
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63 – L3336-................... เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63 – L3336-................... ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาการปวดกล้ามเนื้อ เอ็น กระดูกและข้อ เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อย ในทุกเพศทุกวัย ไม่ว่าจะทำงานออฟฟิศ หรือทำงานบ้าน สาเหตุส่วนใหญ่มาจาก การทำงานที่นั่ง เดิน หรือเคลื่อนไหวร่างกายในท่าทาง อิริยาบถที่ไม่ถูกลักษณะบ่อยครั้ง หรือทำงานอยู่ในท่าเดิมซ้ำซ้ำเป็นเวลานานๆ หลายชั่วโมง ซึ่งท่าทางเหล่านี้ ทำให้เกิดการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออักเสบ หรือเอ็นอักเสบ ทำให้มีอาการปวดบริเวณต่างๆ เช่น ปวดหลัง ไหล่ บ่า แขน ข้อมือ หากมีอาการเป็นเวลานาน จะเกิดภาวะผังผืดบริเวณนั้น และทำให้มีอาการชาตามมา หลายคนเลือกที่จะบรรเทาความเจ็บปวดด้วยรับประทานยาแก้ปวด ลดการอักเสบ เมื่ออาการทุเลาลงก็กลับไปดำเนินชีวิตในรูปแบบเดิม ทำให้อาการปวดย้อนกลับมาใหม่ นานวันเข้าก็กลายเป็นอาการเจ็บปวดเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ซ้ำแล้วซ้ำอีก ทั้งยังต้องเสียเวลาและอาจต้องลาพักงานด้วย
การนวดอาจกล่าวได้ว่าเป็นการรักษาอาการปวดวิธีแรกที่มนุษย์เรารู้จัดตั้งแต่โบราณกาล เป็นวิธีทางธรรมชาติที่เกิดจากการเรียนรู้ เช่น ปวดตรงไหนก็ถู บีบนวดตรงนั้น ต่อมามีการสั่งสมประสบการณ์จนเป็นศาสตร์หนึ่งในการรักษา ปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นการแพทย์ทางเลือกอย่างหนึ่ง การนวด นอกจากจะนวดเพื่อการบำบัดรักษา แล้ว ยังเป็นการนวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อการฟื้นฟูสรรถภาพด้วย การนวดเพื่อการบำบัดรักษา จะมีประโยชน์มากในกลุ่มอาการปวด โดยเฉพาะปวดเมื่อย ปวดกล้ามเนื้อ ไม่ว่าจะเป็นปวดหลัง ปวดคอ ปวดไหล่ โรคเครียด หรือโรคนอนไม่หลับ ส่วนการนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ สามารถนวดได้ทุกคนโดยเฉพาะผู้สูงอายุ เพราะการนวดสามารถกระตุ้นระบบต่างๆของร่างกายทำให้กระปรี้กระเปร่า ผ่อนคลาย และนอนหลับสบาย หลังจากทำการนวดเสร็จเรียบร้อย ถ้าประคบด้วยสมุนไพร จะช่วยส่งเสริมการนวด ให้ผลการรักษาดีขึ้น เพราะ ตัวยาจากสมุนไพรและความร้อน ช่วยทำให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ช่วยทำให้ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ ลดปวด ช่วยลดอาการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อหลัง 24-48 ชั่วโมง และช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
คณะกรรมการ ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน บ้านหัวควน ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์และความสำคัญ ของภูมิปัญญาไทยนี้ จึงได้จัดทำ โครงการ “เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565” ขึ้น เพื่อให้สมาชิกชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีความรู้ในการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในครอบครัวและชุมชนได้ เป็นการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา ซึ่งจะทำให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี ทั้งยังเป็นการส่งเสริมและสืบทอดภูมิปัญญาไทยอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดประชุมคณะกรรมการชมรมจิตอาสา เพื่อชี้แจง กิจกรรม
- 2.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้เรื่องกายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาเบื้องต้นและการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
- 3.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ การทำยาหม่องไพล การทำลูกประคบ และการนวดด้วยตนเอง
- 4.จัดกิจกรรม ประชุมแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน
- 5.จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านและแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน
- 6.สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปดูแลสุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเองครอบครัวและชุมชนได้ 3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในภูมิปัญญาการนวดไทยและสมุนไพรไทย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อได้ถูกต้อง -ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถผู้ทำยาหม่องไพลและลูกประคบเพื่อบรรเทาปวดได้ถูกต้อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ตัวชี้วัดความสำเร็จ - ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดประชุมคณะกรรมการชมรมจิตอาสา เพื่อชี้แจง กิจกรรม (2) 2.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้เรื่องกายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาเบื้องต้นและการนวดเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ (3) 3.จัดกิจกรรม จัดประชุมให้ความรู้ การทำยาหม่องไพล การทำลูกประคบ และการนวดด้วยตนเอง (4) 4.จัดกิจกรรม ประชุมแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในคลินิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านหัวควน (5) 5.จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านและแนะนำการนวดด้วยตนเองแก่ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้าน (6) 6.สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ เพิ่มศักยภาพ คนชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน ด้านการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อและการใช้สมุนไพรบรรเทาปวด ประจำปี 2565 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63 – L3336-...................
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชื่อกลุ่มคน ชมรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน 1.นางภคปภา เพชรขวัญ 2.นางสุณีย์ รักนุ่น 3.นางพรรณี ชูชื่น 4.นางกชกร ณรงค์ราช 1. 5.นางนิพาพร บุญแก้วคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......