กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ

ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 11/2565 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2022


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 11/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2022 - 30 กันยายน 2022 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ปัจจุบัน จำนวนผู้ป่วยที่ปฏิเสธการรักษาเพื่อกลับไปเสียชีวิตที่บ้าน ( against advise)จากภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired ที่ลง ICD 10 รหัส R 65.1 และ R57.2  ใน Principle Diagnosis และ Comorbidity ไม่นับรวมที่ ลงใน Post Admission Comorbidity (complication) และไม่นับรวมผู้ป่วย palliative (รหัส Z 51.5) โดยมีสถานภาพการจำหน่าย (Discharge status) = 2 ปฏิเสธการรักษา, และวิธีการจำหน่าย (ischarge type) = 3 ไม่ดีขึ้น 1. ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง หมายถึง ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะsevere sepsis หรือ septic shock     1.1 ผู้ป่วย severe sepsis หมายถึง ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อในร่างกาย ร่วมกับมี SIRS ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 1) ที่เกิดภาวะ tissue hypoperfusion หรือ organ dysfunction (ตารางที่ 2) โดยที่อาจจะมีหรือไม่มีภาวะ hypotension ก็ได้     1.2 ผู้ป่วย septic shock หมายถึง ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่ามีการติดเชื้อในร่างกาย ร่วมกับมี SIRS ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 1) ที่มี hypotension ต้องใช้ vasopressors ในการ maintain MAP ≥65 mm Hg และ มีค่า serum lactate level >2 mmol/L (18 mg/dL) แม้ว่าจะได้สารน้ำเพียงพอแล้วก็ตาม 2. Community-acquired sepsis หมายถึง การติดเชื้อมาจากที่บ้านหรือที่ชุมชน โดยต้องไม่อยู่ในกลุ่ม hospital-acquired sepsis

อัตราตายจากติดเชื้อในกระแสเลือด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. อัตราตายจาก community-acquired sepsis 2. อัตราตายจาก hospital-acquired sepsis 3. กลุ่มเป้าหมาย ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 จะมุ่งเน้นที่กลุ่ม community – acquired sepsis เพื่อพัฒนาให้ มีระบบข้อมูลพื้นฐานให้เหมือนกัน ทั้งประเทศ แล้วจึงขยายไปยัง hospital-acquired sepsis ในปีถัดไป 4. การคัดกรองผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง หมายถึง การคัดกรองผู้ป่วยทั่วไปที่อาจจะเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงเพี่อนำไปสู่การวินิจฉัยภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงต่อไป ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ (sepsis screening tools) qSOFA ตั้งแต่ 2 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 3) modified early warning score SOS score (search out severity) ตั้งแต่ 4 ข้อ ขึ้นไป (ตารางที่ 4) ซึ่งเกณฑ์การคัดกรองไม่สามารถใช้แทนเกณฑ์ในการวินิจฉัยได้ 5. ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล หมายถึง ข้อมูลจาก ICD 10 และ/ หรือฐานข้อมูลอื่น ๆ ของแต่ละโรงพยาบาล ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง เป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำคัญพบว่าอัตราอุบัติการณ์มีแนวโน้มสูงขึ้นและอัตราเสียชีวิตสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้ที่รับยากดภูมิคุ้มกัน นอกจากนี้ยังพบว่าแนวโน้มของเชื้อดื้อยาเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การรักษาผู้ป่วยไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร นอกจากนี้ยังพบว่าการติดเชื้อในกระแสเลือดส่งผลให้อวัยวะต่างๆ ทำงานผิดปกติ ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาได้แก่ ภาวะช็อก,ไตวาย การทำงานอวัยวะต่างๆ ล้มเหลว และเสียชีวิตในที่สุด
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลกรงปินัง จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565 เพื่อให้ประชาชนและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด เพื่อการรักษาได้ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ (health literacy) เกี่ยวกับการป้องกัน ภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด
  2. เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด มีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกันและเฝ้าระวังอาการติดเชื้อ ระบบต่าง ๆ
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ได้รับการคัดกรองภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด รวดเร็ว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การคัดกรอง การประเมิน SOS Score เพื่อการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สำหรับประชาชน แกนนำสุขภาพ อสม.ม.7

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่มีอาการติดเชื้อเข้าถึงบริการได้เร็ว ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นก่อนเกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดหรือ ก่อนมีภาวะวิกฤตจากภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
  2. กลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ได้รับการดูแล ป้องกันการติดเชื้อในระบบต่าง ๆ
  3. ผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเร็วก่อนมีอาการรุนแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ (health literacy) เกี่ยวกับการป้องกัน ภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด มีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกันและเฝ้าระวังอาการติดเชื้อ ระบบต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ได้รับการคัดกรองภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด รวดเร็ว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรอบรู้ (health literacy) เกี่ยวกับการป้องกัน ภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด (2) เพื่อให้ผู้ดูแลกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด  มีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกันและเฝ้าระวังอาการติดเชื้อ ระบบต่าง ๆ (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด  ได้รับการคัดกรองภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด  รวดเร็ว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรอง การประเมิน SOS Score เพื่อการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สำหรับประชาชน แกนนำสุขภาพ อสม.ม.7

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการพัฒนาเครือข่าย คัดกรองเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนการติดเชื้อในกระแสเลือด ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 11/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีแย สะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด