กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ


“ โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ”

ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแอเสาะ โต๊ะอุง

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก

ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4153-003-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4153-003-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล การส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กช่วงอายุ 0-3 ปี จะต้องเริ่มจากแม่ที่กำลังตั้งครรภ์ ทั้งนี้เพราะฟันของลูกเริ่มสร้างขณะที่ลูกอยู่ในครรภ์ของแม่ ภาวะโภชนาการและสุขภาพของแม่ จึงส่งผลโดยตรง ต่อพัฒนาการการสร้างฟันของลูกขณะที่อยู่ในครรภ์นั่นเอง โรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ โดยสามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ การเกิดฟันผุในน้ำนมมีปัจจัยทีเกี่ยวข้องสอดคล้องกับฟันแท้ แต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน เพราะเป็นฟันผุที่เกิดกับเด็กในช่วงอายุน้อย ซึ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลายด้าน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ ฟัน อาหาร จุลินทรีย์ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันของเด็ก ซึ่งมารดามีบทบาทสำคัญต่อภูมิคุ้มกันของลูก ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเอง และอาจมีผลต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วย นอกจากนี้พบว่า เด็กที่มีฟันน้ำนมผุ โอกาสที่ฟันแท้จะผุมีมากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุสาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนใหญ่ในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การทำความสะอาดช่องปาก ฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ทัศนคติกับการตระหนักถึงสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพช่องปากของพ่อแม่ ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นหนึ่งในปัจจัยทางชีวภาพด้านสุขภาพของเด็กปฐมวัย ซึ่งจากการศึกษาของกรมอนามัย เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัยไทยล่าสุด พบว่าเด็กปฐมวัยที่ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมีโอกาสที่จะพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น 1.43 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก และจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย ยังคงพบความชุกของโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 52.9 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 2.8 ซี่/คน สาเหตุที่เด็กก่อนวัยเรียนมีสภาวะฟันน้ำนมผุสูงเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูดนมขวดคาปาก การปล่อยให้เด็กหลับคาขวดนมเป็นประจำ การไม่ดูดน้ำตามหลังดูดนมการทำความสะอาดช่องปากไม่สม่ำเสมอ เด็กกลุ่มนี้มีอัตราการผุ ถอน อุด เป็นด้าน โดยเฉลี่ยสูงกว่าเด็กที่ถูกเลี้ยงดูในทางตรงข้าม เด็กที่ถูกเลี้ยงโดยพี่เลี้ยง ญาติหรือฝากคนอื่นเลี้ยงมีอัตราเฉลี่ย ผุ ถอน อุด สูงกว่าเด็กที่มารดาเลี้ยง การชอบรับประทานของหวาน การแปรงฟันน้อยกว่าวันละ ๒ ครั้ง หรือไม่แปรงฟันเลย และการที่เด็กไม่เคยพบทันตแพทย์เลย มีผลต่อการเกิดฟันผุของเด็กวัยนี้เช่นกัน การให้ความรู้ในกลุ่มผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กจึงเป็นส่วนสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัย 0-3 ปี จากการสำรวจข้อมูลทางทันตสุขภาพเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล จำนวน 81 คน พบว่ามีเด็กที่มีสุขภาพฟันที่ต้องได้รับการดูแลประมาณ 30 คน แสดงให้เห็นว่าเด็กนักเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแล ไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากได้ดีเท่าที่ควร การป้องกันฟันผุในเด็กเล็กที่ง่ายและได้ผลดีที่สุด คือ ผู้ปกครองควรแปรงฟันให้เด็กตั้งแต่ฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มขึ้นด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ และแปรงฟันให้ต่อเนื่องจนกว่าเด็กมีพัฒนาการข้อมือที่แข็งแรง ประมาณอายุ 7-8 ปี เด็กจึงจะสามารถแปรงฟันได้เอง โดยมีผู้ปกครองเน้นเรื่องความสะอาดและการแปรงฟันเป็นประจำจนเป็นนิสัย การให้ความรู้ความเข้าที่ถูกต้องกับผู้ปกครองจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้สามารถแนะนำวิธีที่ถูกต้องในการรักษาดูแลฟันและช่องปาก นอกจากนี้ ควรนำเด็กปฐมวัยไปรับการตรวจคัดกรองสภาวะโรคฟันผุโดยทันตบุคลากร หากประเมินแล้วพบว่าเริ่มมีความเสี่ยงฟันผุ จะได้รับคำแนะนำการดูแลสุขภาพช่องปาก เคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูง และนัดตรวจติดตามเป็นระยะ ๆ ทุก 3 เดือน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลาสมีแลได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก ปีงบประมาณ ๒๕๖5 ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ๐-๓ ปี รู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี 3. เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลช่องปากและฟัน
  2. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี สามารถแปรงฟันให้ลูกได้อย่างถูกวิธี
  3. ผู้ปกครองเด็กเล็ก 0-3 ปี สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดขยายผลต่อเพื่อนและผู้ใกล้ชิดได้อย่างถูกต้อง 4.เด็ก 0-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
    5.เด็ก 0-3 ปี ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาลได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ๐-๓ ปี รู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี 3. เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองมีระดับความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพเด็ก0-3 ปี ที่ถูกต้อง ในระดับดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. ผู้ปกครองสามารถแปรงฟันเด็ก 0-3 ปี ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 3. เด็กอายุ 0-3 ปี ได้รับการทาฟูลออไรค์วานิช ร้อยละ 100
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจในการรักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน 2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ๐-๓ ปี รู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟัน ดูแลช่องปากที่ถูกต้องถูกวิธี
3. เพื่อให้เด็ก ๐-๓ ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์เฉพาะที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฎิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มสดใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4153-003-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแอเสาะ โต๊ะอุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด