กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1) ”

ชุมชนเขตเทศบาลนครยสะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชัญญาภัค คงสกุล เภสัชกรปฏิบัติการ

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ชุมชนเขตเทศบาลนครยสะลา จังหวัด

รหัสโครงการ 65 – L7452 – 1 - 1 เลขที่ข้อตกลง 5-2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนเขตเทศบาลนครยสะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนเขตเทศบาลนครยสะลา รหัสโครงการ 65 – L7452 – 1 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,135.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาม พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ จำนวน ๔ ภารกิจ คือการผลิตสื่อและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้ในการบริโภคและเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม การสร้างและขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของผู้บริโภคในท้องถิ่น และการตรวจสอบด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 6 ประเภท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหาร ยาวัตถุเสพติด เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง และวัตถุอันตรายที่ใช้บ้านหรือทางสาธารณสุข ปัจจุบันกระแสการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากประชาชนหันมาสนใจการดูแลสุขภาพ โดยประชาชนมักแสวงหาผลิตภัณฑ์เหล่านี้ตามที่ต้องการจากทั้งโรงพยาบาล คลินิก ร้านชำ ตลาดนัดหรือรถเร่ รวมทั้งทางสื่อออนไลน์ มีทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐานและไม่ได้มาตรฐานรับรองจาก อย. ประกอบกับการสื่อสารที่สะดวกรวดเร็วขึ้น สามารถรับข่าวสารด้านการโฆษณาหลากหลายช่องทาง ซึ่งบางครั้งมีการหลอกลวงหรือโอ้อวดเกินจริง โดยจากการดำเนินงานของศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ประจำปี 2563 พบว่า มีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ เข้าข่ายผิดกฎหมาย 150 ผลิตภัณฑ์ และจากสถิติรับเรื่องร้องทุกข์จากผู้บริโภคในระบบร้องทุกข์ผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประจำเดือน กันยายน - พฤศจิกายน 2564 พบเรื่องร้องทุกข์จากผู้บริโภค ประเภทผลิตภัณฑ์สุขภาพ เวชภัณฑ์ยา และอาหารเสริม จำนวน 68 เรื่อง ทั้งนี้ นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมอาหารและยา (อย.) ได้รับรายงานปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อความงามในปัจจุบันพบว่า ผู้บริโภคที่ได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอางทาสิวฝ้า หน้าขาว ที่ผสมสารห้ามใช้ สารปรอท ทำให้เกิดการแพ้ผื่นแดง ผิวหน้าดำ ผิวบางลง เกิดพิษสะสมของปรอท ทำให้ทางเดินปัสสาวะอักเสบและไตอักเสบสารไฮโดรควิโนน ทำให้เกิดการแพ้ ระคายเคือง เกิดจุดด่างขาวที่หน้า ผิวหน้าดำ เป็นฝ้าถาวร รักษาไม่หายและกรดเรทิโนอิกหรือ กรดวิตามินเอ เมื่อใช้แล้วเกิดอาการหน้าแดง ระคายเคือง แสบร้อนรุนแรง เกิดการอักเสบ ผิวหน้าลอกอย่างรุนแรง และอาจเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ (เจาะลึกสุขภาพ, 2557) รวมทั้ง ปัญหาการปลดล็อคสารเสพติด กรณีการใช้ใบกระท่อมในระยะยาวส่งผลต่อจิตใจและระบบประสาท และหากใช้ใบกระท่อมเป็นประจำอาจมีผลข้างเคียง เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ รู้สึกกระวนกระวาย สับสน เซื่องซึมเคลื่อนไหวช้า ร่าเริงผิดปกตินอนไม่หลับ หรือร่างกายตื่นตัวตลอดเวลา ไตเกิดความเสียหาย ทำให้ปัสสาวะมีสีเข้มมาก ผิวหนังเป็นสีเหลือง เกิดจากตับทำงานอย่างหนักในการกรองสารพิษออกจากร่างกาย รวมทั้งการกัญชาที่มีปัญหาเพิ่มขึ้นเช่นกัน จากข้อมูลจะเห็นว่า ประชาชนส่วนใหญ่มักเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากการโฆษณาและบุคคลรอบข้างโดยยังไม่ได้ศึกษาข้อมูลที่ถูกต้อง และอาจเกิดอันตรายจากผลิตภัณฑ์นั้นๆได้ นอกจากนี้ จากการสำรวจร้านชำในเขตเทศบาลนครยะลา ปี 2563 จำนวน 413 ร้าน พบร้านชำที่ขายยามีจำนวน 86 ร้าน ที่สำคัญพบร้านชำขายยาไม่ถูกต้อง จำนวน 13 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 15.17 (รายงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2564)
ดังนั้น การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และรู้จักเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง งานเภสัชกรรม เทศบาลนครยะลา จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมความรู้และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมสามารถถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ผู้คนรอบข้างและประชาชนในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังการอบรมมากกว่าร้อยละ 80 (วัดจากแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม)
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80 3. ร้อยละ 90 ของผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมความรู้และการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคด้านความรู้และการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย ในพื้นที่เขตเทศบาลนครยะลา ประจำปี 2565 (ประเภทที่ 1) จังหวัด

รหัสโครงการ 65 – L7452 – 1 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชัญญาภัค คงสกุล เภสัชกรปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด