โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 ”
ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางปาซีหย๊ะ เจะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565
ที่อยู่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3034-2-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้กัญชาทางการแพทย์
2.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและเป็นทางเลือกการรักษาไม่ใช้เพื่อความบันเทิง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดตั้งสถานีกัญชาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคในชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
102
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจสามารถนำกัญชากัญชงมาใช้ประโยชน์เป็นทางเลือกเพื่อสุขภาพและการรักษาโรค รวมทั้งูถูกต้องตามกฎหมาย
2.ประชาชนมีการเฝ้าระวังตนเองและมีความตระหนักไม่ใช้กัญชากัญชงในเชิงสันทนาการหรือความบันเทิง จนก่อให้เกิดอาการเมาและเกิดการเสพติดไดในที่สุด
3.ประชาชนนำกัญชาเพื่อการดูแลสุขภาพมาต่อยอดในผลิตภัณฑ์ต่างๆทำให้เกิดประโยชน์สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรญฐกิจและสร้างรายได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงเพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565ผลปรากฏดังนี้
1.อาสาสมัครสาธารณสุขในตำบลวัดพร้อมให้การสนับสนุนและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ใช้กัญชาเป็นเลือกเพื่อการรักษาโรคผ่านแพทย์เท่านั้น
2.กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและพร้อมถ่ายทอดกระจายข่าวให้เพื่อนบ้านได้รับรู้การใช้กัญชาที่ถูกต้องตามกฎหมายต่อไป
3.จากการติดตามโดยทีม อสม.ละแวกบ้านที่รับผิดชอบ พบเพื่อนบ้านใช้กัญชาเพื่อบันเทิงเพียงร้อยละ 5 โดยเป็นกลุ่มวัยรุ่นและไม่พบอาการเมาอาละวาดในชุมชน
5.การดำเนินโครงดังกล่าวนี้ ได้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ ด้วยจากนโยบายปลด ล็อกกัญชาโดยให้ประชาชนสามารถใช้กัญชาโดยไม่ผิดกฏหมายจนถึง ณ ปัจจุบัน พบว่าประชาชนในตำบลวัดมีความรู้และเข้าใจสามารถนำกัญชากัญชงมาใช้ประโยชน์เป็นทางเลือกเพื่อสุขภาพและการรักษาโรคทางการแพทย์เท่านั้นและยังไม่พบปัญหาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนในชุมชนอันเนื่องจากการใช้กัญชาเสรีตามนโยบายปลดล็อกกัญชา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
102
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
102
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้กัญชาทางการแพทย์
2.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและเป็นทางเลือกการรักษาไม่ใช้เพื่อความบันเทิง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดตั้งสถานีกัญชาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคในชุมชน
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3034-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปาซีหย๊ะ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 ”
ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางปาซีหย๊ะ เจะมะ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3034-2-01 เลขที่ข้อตกลง 10/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้กัญชาทางการแพทย์
2.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและเป็นทางเลือกการรักษาไม่ใช้เพื่อความบันเทิง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดตั้งสถานีกัญชาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคในชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 102 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจสามารถนำกัญชากัญชงมาใช้ประโยชน์เป็นทางเลือกเพื่อสุขภาพและการรักษาโรค รวมทั้งูถูกต้องตามกฎหมาย 2.ประชาชนมีการเฝ้าระวังตนเองและมีความตระหนักไม่ใช้กัญชากัญชงในเชิงสันทนาการหรือความบันเทิง จนก่อให้เกิดอาการเมาและเกิดการเสพติดไดในที่สุด 3.ประชาชนนำกัญชาเพื่อการดูแลสุขภาพมาต่อยอดในผลิตภัณฑ์ต่างๆทำให้เกิดประโยชน์สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรญฐกิจและสร้างรายได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงเพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565ผลปรากฏดังนี้ 1.อาสาสมัครสาธารณสุขในตำบลวัดพร้อมให้การสนับสนุนและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ใช้กัญชาเป็นเลือกเพื่อการรักษาโรคผ่านแพทย์เท่านั้น 2.กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและพร้อมถ่ายทอดกระจายข่าวให้เพื่อนบ้านได้รับรู้การใช้กัญชาที่ถูกต้องตามกฎหมายต่อไป 3.จากการติดตามโดยทีม อสม.ละแวกบ้านที่รับผิดชอบ พบเพื่อนบ้านใช้กัญชาเพื่อบันเทิงเพียงร้อยละ 5 โดยเป็นกลุ่มวัยรุ่นและไม่พบอาการเมาอาละวาดในชุมชน 5.การดำเนินโครงดังกล่าวนี้ ได้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ ด้วยจากนโยบายปลด ล็อกกัญชาโดยให้ประชาชนสามารถใช้กัญชาโดยไม่ผิดกฏหมายจนถึง ณ ปัจจุบัน พบว่าประชาชนในตำบลวัดมีความรู้และเข้าใจสามารถนำกัญชากัญชงมาใช้ประโยชน์เป็นทางเลือกเพื่อสุขภาพและการรักษาโรคทางการแพทย์เท่านั้นและยังไม่พบปัญหาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนในชุมชนอันเนื่องจากการใช้กัญชาเสรีตามนโยบายปลดล็อกกัญชา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 102 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 102 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการใช้กัญชาทางการแพทย์
2.เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเข้าใจการใช้กัญชาและกัญชงเพื่อการรักษาโรคเท่านั้นและเป็นทางเลือกการรักษาไม่ใช้เพื่อความบันเทิง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การจัดตั้งสถานีกัญชาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมการใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคในชุมชน
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรู้การใช้กัญชาและกัญชงให้เพื่อสุขภาพและการรักษาโรค ปี 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3034-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปาซีหย๊ะ เจะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......