กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน : กิจกรรมคัดกรอง กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจ้งโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขแก่ อสม. พร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่หมู่ที่1 - หมู่6 ตามละแวกที่นัดเป้าหมายไว้
กิจกรรมที่ 2 ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในชุมชน สรุปผลการดำเนินงานตรวจคัดกรอง ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป้าหมาย 1,082 คน ได้รับการคัดกรองเป็นจำนวน 1,049 คน คิดเป็นร้อยละ 96.95
กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคเบาหวาน
กลุ่มปกติ จำนวน 690 คน คิดเป็นร้อยละ 65.77 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 32.03 กลุ่มกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 2.09 และได้รับการติดตามตรวจซ้ำ จำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 81.82 กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.54 กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองค้นหาโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 843 คน กลุ่มปกติ จำนวน 135 คิดเป็นร้อยละ 16.01 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 661 คิดเป็นร้อยละ 78.41 กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 4.50 ได้รับการส่งต่อ 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.68

ผลการดำเนินงาน : กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามกลุ่มเสี่ยง สรุปผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ผลการติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตารางที่ 1 ผลการคัดกรองวัดความดันครั้งที่ 1 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อนเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าความดันกลุ่มเสี่ยงเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ปกติมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 43.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 50 และค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูง คิดเป็นร้อยละ 6.66 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์สงสัยป่วย ตารางที่ 2 ผลการคัดกรองค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานหลังเข้าอบรมโครงการ พบค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 53.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในเกณฑ์ปกติลดลง คิดเป็นร้อยละ 46.67 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูงกับสงสัยป่วย ตารางที่ 3 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ครั้งที่ 1 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อนเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานอยู่ในเกณฑ์มากที่สุดที่น้ำหนักเกิน ค่าBMI 23.0-24.9 คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาปกติค่าBMI 18.5-22.9 คิดเป็นร้อยละ 33.33 ต่อมาผอมค่าBMI 25.0 คิดเป็นร้อยละ 16.67
ตารางที่ 4 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) หลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นว่าค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานหลังครบการติดตาม 3 ครั้ง พบว่า กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ดีขึ้น ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์ ปกติ มากสุด คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกิน คิดเป็นร้อยละ 36.67 ต่อมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ อ้วน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์น้อยที่สุด ผอม
คิดเป็นร้อยละ 3.33
ตารางที่ 5 ผลการคัดกรองค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน ก่อน- หลัง เข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ปกติ หลังเข้าร่วมโครงการ ดีขึ้น จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) มีภาวะเสี่ยง หลังเข้าร่วมโครงการ ลดลง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ไม่พบมีสงสัยเบาหวาน หลังเข้าร่วมโครงการ ตารางที่ 6 ผลการคัดกรองวัดความดัน กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 30 คน ก่อน- หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 30 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยง ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 56.67 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยงสูง ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ สงสัยป่วย ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 เพื่อส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ตารางที่ 7 ผลการคัดกรองค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 30 คน ก่อน- หลังเข้าอบรมโครงการ
แสดงให้เห็นผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการดังนี้ - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ผอม เท่าเดิม หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกินเกณฑ์ ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ อ้วน ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
82.00 90.00 95.00

 

2 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ
56.40 90.00 100.00

 

3 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์
ตัวชี้วัด : 3 ร้อยละประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์
50.00 90.00 80.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
30.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1082 1049
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,082 1,049
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต (2) 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามตรวจซ้ำ (3) 3 ประชากรกลุ่มที่สงสัยป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อเพื่อรับรับวินิจฉัยจากแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.จัดประชุมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. (2) 4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ (3) 1จัดประชุมชี้แจงโครงการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำรพ.สต. แก่อาสาสมัครชุมชน แจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ (4) 2.ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด.....1,082.........คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh