กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 15/2565 เลขที่ข้อตกลง 15/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 15/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ มีการดำเนินงานต่อเนื่องเพื่อพัฒนาระบบการดูแลก่อนคลอดและหลังคลอดที่ได้มาตรฐานตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดและตามความต้องการของผู้รับบริการ งานบริการฝากครรภ์ได้มีการพัฒนาแนวทางการดูแลแม่และเด็กแบบครบวงจรในบริบทพื้นที่มุสลิมดูแลแม่และเด็ก ก่อนคลอด คลอดและหลังคลอดในชุมชนด้วยใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและบุตรในเชิงบวกแม่และเด็กมีสุขภาพดี ปรับบทบาทความสัมพันธ์ใหม่ในการดำเนินงานร่วมกับผดบ. ดำรงไว้ซึ่งความมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของผดบ. โดยปรับเปลี่ยนบทบาทจากการทำคลอดมาดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กร่วมกับเจ้าหน้าที่อย่างเต็มภาคภูมิ ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ดีสู่การปฏิบัติร่วมกัน ลดภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ให้ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจแบบองค์รวมและผสมผสาน ตอบสนองความต้องการของประชาชน และแก้ปัญหางานอนามัยอย่างแท้จริง การลดอัตรามารดาเสียชีวิต เน้นการเข้าถึงสถานบริการของหญิงตั้งครรภ์ การคัดกรองเพื่อประเมินความเสี่ยง 21 ข้อ การประเมินภาวะเสี่ยง 5 โรค และการให้ความรู้ภาวะเสี่ยงต่อหญิงตั้งครรภ์ การพัฒนาเชิงรุกโดยการสำรวจหาสตรีตั้งครรภ์ในชุมชน การให้บริการเชิงรุกในชุมชนโดยให้คำแนะนำเกี่ยวการฝากครรภ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขของชุมชนจากสถานการณ์มารดาเสียชีวิติ พบว่ามีอัตราการตายของมารดา ปี 2563 ประเทศ 85 ราย MMR=22.57 เขตสุขภาพที่ 12 มารดาตาย 16 ราย MMR=29.11 จังหวัดยะลาปี2560-2563 เท่ากับ 30.97, 35.01,47.89,76.39 ต่อการเกิดมีชีพแสนปีงบประมาณ 2563 จังหวัดยะลามีอัตรามารดาเสียชีวิต จำนวน 7 ราย สำหรับพื้นที่อำเภอกรงปินัง มีมารดาเสียชีวิต จำนวน 2 ราย คิดเป็น 723.93 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน จากข้อมูลเบื้องต้นของมารดาที่เสียชีวิต ได้แก่ มีประวัติ PIH จากครรภ์เดิมมารดาตั้งครรภ์มากกว่าครั้งที่ 4 ขึ้นไป อายุขณะตั้งครรภ์มากกว่า 35 ปี มีประวัติการใช้สารเสพติด มีประวัติการตั้งครรภ์เสี่ยง ซึ่งเกิดจากภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ สถานที่เสียชีวิต มารดาทั้ง 2 รายเสียชีวิตที่บ้าน ปัญหาจากการวิเคราะห์สาเหตุด้านกระบวนการดูแลผู้ป่วย พบว่าการเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกรงปินัง โดยกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกรงปินัง เน้นการบริการเชิงรับในสถานบริการและบริการเชิงรุกในชุมชน โดยพยาบาลวิชาชีพหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความรู้และทักษะในการการประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ มีการทบทวน ปรึกษาเพื่อดูแลสตรีมีครรภ์ที่มีความเสี่ยงโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสถานบริการ และระบบการส่งต่อ เน้นการเพิ่ม/ฟื้นฟูความรู้ และเสริมทักษะในการประเมินความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ในงานบริการฝากครรภ์งานห้องคลอด ทบทวนระบบการส่งต่อ ทบทวนโครงสร้างงานอนามัยแม่และเด็กเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามงานอย่างต่อเนื่องและคืนข้อมูลสู่ชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
  2. 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
  3. 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีประชาคมสำหรับแกนนำสุขภาพ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เครือข่ายท้องถิ่น เกี่ยวกับการปัญหาสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์พื้นที่ตำบลกรงปินัง เพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง การติดตามหญิงตั้งครรภ์ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR อสม.ในการดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จำนวน 25 คน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอดและแกนนำสุขภาพ จำนวน 40 คน
  4. กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลและส่งต่อในกรณีเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล
  5. จัดเวที่ประชาคมเพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
  6. จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR
  7. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอด
  8. ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80 2. แกนนำสุขภาพ FR ผดุงครรภ์โบราณ และอสม. ในพื้นที่ มีความรู้ และสามารถให้คำแนะนำการดูแลตนเองเบื้องต้นให้กับประชาชนได้
3.อัตรามารดาเสียชีวิตลดลง, อัตรา BA LBW ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดไม่เกินร้อยละ 10
1.00

 

2 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด ได้รับการติดตามร้อยละ 100
1.00

 

3 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้
ตัวชี้วัด : 3.อัตราตายของมารดา
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน (2) 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีประชาคมสำหรับแกนนำสุขภาพ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เครือข่ายท้องถิ่น เกี่ยวกับการปัญหาสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์พื้นที่ตำบลกรงปินัง เพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง การติดตามหญิงตั้งครรภ์ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR อสม.ในการดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จำนวน 25 คน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอดและแกนนำสุขภาพ จำนวน 40 คน (4) กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลและส่งต่อในกรณีเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล (5) จัดเวที่ประชาคมเพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (6) จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR (7) จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอด (8) ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใย ใส่ใจ แก้ปัญหาเพื่อลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ม.7 ตำบลกรงปินัง ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 15/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีแย สะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด