กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕ ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 17/2565 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 17/2565 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเจ็บป่วยของประชาชนตำบลกรงปินัง ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ  เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้นๆ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญๆ ได้แก่ โรคเบาหวาน    โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง ซึ่งทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา เช่น เส้นเลือดหัวใจตีบ เกิดโรคหัวใจขาดเลือด เส้นเลือดสมองตีบ ตัน เกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นเลือดสมองแตก ไตวาย ทำให้เสียชีวิตได้ ซึ่งสาเหตุหลักๆ มาจากพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม ได้แก่ การบริโภคอาหารไม่สมดุล เกินความต้องการของร่างกาย และเป็นอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มมากเกินไป อาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อนสะสมในผัก ผลไม้ อาหารสด อาหารแห้ง รวมทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป นิยมอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูปแช่แข็ง อาหารกึ่งสำเร็จรูป รวมทั้งอาหารตามร้านนอกบ้านที่ปรุงอาหารคำนึงถึงแต่รสชาติแต่ไม่คำนึงถึงสุขภาพของผู้บริโภค การขาดการออกกำลังกาย หรือออกกำลังกายน้อย อ้วน มีความเครียด เป็นต้น แต่โรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ ซึ่งในการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีกระบวนการ และขั้นตอนการดำเนินงานที่แตกต่างไปจากการควบคุมและป้องกันโรค  ไม่ติดต่ออื่นๆ เป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากธรรมชาติของการเกิดโรคเรื้อรังนี้ มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง นั่นคือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีระยะเวลาของการฟักตัวของโรคที่ยาวนาน อาการของโรคไม่ปรากฏชัดเจน จนกระทั่งมาถึงพัฒนาการของโรคในขั้นที่มีผลรุนแรงต่อร่างกาย เมื่อเป็นโรคเหล่านี้แล้วนั้น ส่วนใหญ่จะไม่หายขาด อีกทั้งพยาธิสภาพในร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวรและไม่สามารถกลับคืนมายังสภาพปกติได้อีกเลย ซึ่งในกระบวนการรักษาพยาบาลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เริ่มตั้งแต่การคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตพื้นที่รับผิดของของกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ซึ่งผลจากการคัดกรองจะแบ่งกลุ่มได้เป็น กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และ  กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยในกลุ่มปกติ จะเน้นการส่งเสริมการปฏิบัติตัวให้ดีต่อไป สำหรับกลุ่มเสี่ยง จะมีระบบส่งต่อโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จะส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงในคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (DPAC) ของสถานบริการ สำหรับกลุ่มป่วย จะได้รับการบริการในคลินิ โรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของสถานบริการเช่นกัน ซึ่งนอกจากกระบวนการรักษาโรค  ไม่ติดต่อเรื้อรังจะมีในสถานบริการแล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการส่งเสริมสุขภาพในระดับชุมชน หรือหมู่บ้าน  โดยการนำเสนอสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ให้ชุมชนได้รับรู้ เพื่อให้เกิดความตระหนัก และเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ตลอดจนเพื่อให้ชุมขนได้มีส่วนร่วมช่วยกันวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา และกำหนดกิจกรรมแก้ไขปัญหาร่วมกันของคนในชุมชน ด้วยความร่วมมือและการบูรณการของทุกฝ่ายที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อให้เกิดการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพที่ครอบคลุมและยั่งยืน โดยการดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม เพื่อลดโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตลอดจน  ลดภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายของโรคดังกล่าว ทั้งนี้ การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม ลดเสี่ยง ลดโรค ม.7 ตำบลกรงปินังพื้นที่รับผิดชอบของกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม ให้มีประสิทธิภาพได้นั้นต้องมีบุคลากรผู้ดำเนินงานทุกระดับในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา อสม. เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินงาน มีประสิทธิภาพ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรคเบาหวาน ลดโรคมะเร็ง ลดโรคความดันโลหิตสูง  ลดโรคหัวใจและหลอดเลือด ปี 256๕ เพื่อสร้างความร่วมมือ ร่วมกัน วิเคราะห์ แก้ไขปัญหา โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้ร่วมกัน วิเคราะห์ สาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และร่วมกันนำเสนอ กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยชุมชนเอง
  2. ๒. ส่งเสริมให้เกิดแกนนำสุขภาพในการติดตามดูแล.ในกลุ่มเสี่ยง ป่วย ผู้ป่วยเรื้อรังในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็มเพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มโรคเรื้องรัง
  3. ๓.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านได้รับประทานผักเพิ่มมากขึ้นและเห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมแต่งตั้งคณะทำงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม
  2. กิจกรรมที่ 2 ประชุมเวทีประชาคมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม
  3. กิจกรรมที่ 3 อบรมแกนนำสุขภาพในหมู่บ้าน เพื่อดูแล ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็มในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ร่วมทั้งให้คำปรึกษา ติดตามให้มาตามนัดในกลุ่มป่วย
  4. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน โดยการแจกพันธ์ผัก 3 ชนิด ต่อหลังคาเรือน ได้แก่ ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง หรือผักที่ได้จากการเสนอในการประชุมเวทีประชาชาคมของหมู่บ้าน ทีป่วยเป็นโรคเรื้อรัง จำ
  5. กิจกรรมประชุมแต่งตั้งคณะทำงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. ประชุมเวทีประชาคมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  7. อบรมแกนนำสุขภาพในหมู่บ้าน
  8. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในหมู่บ้านได้ร่วมกัน วิเคราะห์ หาสาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และร่วมกันนำเสนอ กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2.เกิดแกนนำสุขภาพในการติดตามดูแล.ในกลุ่มเสี่ยง ป่วย ผู้ป่วยเรื้อรังในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็มเข้าถึงบริการในกลุ่มโรคเรื้องรัง
    3.ประชาชนในหมู่บ้านเห็นความสำคัญของการรับประทานผักเพิ่มมากขึ้น และมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้านเพิ่มมากขึ้น ๔. ร้อยละ 5ของผู้ป่วยเบาหวานลดลง ๖.ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยเบาหวานทีขึ้นทะเบียน ได้รับการตรวจติดตามรักษาอย่างเหมาะสม ๗.ร้อยละ-๒.5ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ๘.ร้อยละ 60 ของความดันโลหิตสูงทีควบคุมความดันได้ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้ร่วมกัน วิเคราะห์ สาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และร่วมกันนำเสนอ กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยชุมชนเอง
ตัวชี้วัด :
1.00

 

2 ๒. ส่งเสริมให้เกิดแกนนำสุขภาพในการติดตามดูแล.ในกลุ่มเสี่ยง ป่วย ผู้ป่วยเรื้อรังในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็มเพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มโรคเรื้องรัง
ตัวชี้วัด :
1.00

 

3 ๓.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านได้รับประทานผักเพิ่มมากขึ้นและเห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้ร่วมกัน วิเคราะห์ สาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และร่วมกันนำเสนอ กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยชุมชนเอง (2) ๒. ส่งเสริมให้เกิดแกนนำสุขภาพในการติดตามดูแล.ในกลุ่มเสี่ยง ป่วย ผู้ป่วยเรื้อรังในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน มัน เค็มเพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่มโรคเรื้องรัง (3) ๓.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านได้รับประทานผักเพิ่มมากขึ้นและเห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมแต่งตั้งคณะทำงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม (2) กิจกรรมที่ 2  ประชุมเวทีประชาคมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด หวาน มัน เค็ม (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมแกนนำสุขภาพในหมู่บ้าน เพื่อดูแล ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็มในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ร่วมทั้งให้คำปรึกษา ติดตามให้มาตามนัดในกลุ่มป่วย (4) กิจกรรมที่ 4  ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน โดยการแจกพันธ์ผัก 3 ชนิด ต่อหลังคาเรือน ได้แก่ ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง หรือผักที่ได้จากการเสนอในการประชุมเวทีประชาชาคมของหมู่บ้าน ทีป่วยเป็นโรคเรื้อรัง จำ (5) กิจกรรมประชุมแต่งตั้งคณะทำงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (6) ประชุมเวทีประชาคมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (7) อบรมแกนนำสุขภาพในหมู่บ้าน (8) ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวาน ความดัน หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง ปี ๒๕๖๕ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 17/2565

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารีแย สะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด