กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565 ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ บุญเรือง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8402-01-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L8402-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเป็นจำนวนมาก อันเนื่องมาจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป และเกิดสถานการณ์โรคโควิด 19 ระบาด ทำให้ประชาชนมีความลำบากในการใช้ชีวิต และมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ประชาชนขาดรายได้ เกิดภาวะเครียด อาจทำให้มีผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่ออันได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น   จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ ได้ตรวจสุขภาพประจำปีประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2564 พบว่า มีประชาชนที่ีเข้าร่วมตรวจคัดกรองเบื้องต้น โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,600 คน พบว่า มีความเสี่ยงที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 120 mg/dl จำนวน 340 คน คิดเป็นร้อยละ 18.13 กลุ่มนี้จึงมีโอกาสที่จะเปลี่ยนไปเป็นโรคเบาหวานที่ต้องรับประทานยาตลอดชีวิตได้ ส่วนกลุ่มที่มีความเสี่ยงค่าระดับความดันโลหิตสูงเกิน 120/80 mmHg จำนวน 176 คน คิดเป็นร้อยละ 9.39 กลุ่มนี้จึงมีโอกาสเปลี่ยนไปเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและรับประทานยาตลอดชีวิตได้ ซึ่งในกลุ่มนี้ก็มีโอกาสป่วยด้วยโรคทั้ง 2 โรคได้ และด้วยสถานการณ์โรคโควิด 19 ระบาด ทำให้ไม่สามารถรวมกลุ่มในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงได้เป็นจำนวนมาก ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ จึงได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการคัดกรองโรคจากการร่วมกลุ่มคัดกรองเป็นจำนวนมาก โดยใช้วิธีการคัดกรองโรคเชิงรุกด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และเพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความสามารถในการคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงของเขตรับผิดชอบได้ด้วยตนเอง จึงได้มีการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้มีความพร้อมและมีความมั่นใจในการคัดกรองเชิงรุกในชุมชนได้ ทั้งนี้เมื่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถคัดกรองโรคเชิงรุกได้ด้วยตนเอง ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สามารถลงพื้นที่ตรวจคัดกรองเชิงรุกในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ ทำให้การร่วมกลุ่มลดลง โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดหรือการแพร่กระจายเชื้อลดลง อีกทั้งยังช่วยควบคุมการระบาดของโรคในชุมชนได้ด้วย   ดังนั้น จากข้อมูลดังกล่าวทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ได้เล็งเห็นถึงปัญหาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ด้วยการเริ่มจากการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้มีพร้อมในการคัดกรองเชิงรุกในชุมชนโดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขค่อยเป็นพี่เลี้ยง ะเพื่อลดการร่วมกลุ่มคัดกรองเป็นจำนวนมากที่ทำให้เสี่ยงต่อการติดต่อของโรคโควิด 19 และดำเนินการคัดกรองเชิงรุกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหาใต้ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทำให้ไม่เกิดผู้ป่วยรายใหม่ และประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการตรวจคัดกรองโรคเชิงรุกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดกรองเชิงรุกกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. การคัดกรองเชิงรุกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,672
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองเชิงรุกทุกคน และสามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ได้ และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) มีศักยภาพในการคัดกรองเชิงรุก แปลผลค่าความดันโลหิตสูงและค่าเบาหวานในเลือดได้ถูกต้อง พร้อมทั้งใหคำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองอย่างถูกต้องเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1,600 คน
100.00

 

2 เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง
80.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการตรวจคัดกรองโรคเชิงรุกในชุมชน
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) มีศักยภาพในการคัดกรองโรคเชิงรุกในชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1672
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,672
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในการตรวจคัดกรองโรคเชิงรุกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดกรองเชิงรุกกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) การคัดกรองเชิงรุกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเชิงรุกในชุมชนด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ประจำปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8402-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ บุญเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด