กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี ”

ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชัยวัฒน์ ทองก่อแก้ว ตำแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านไร่

ชื่อโครงการ โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี

ที่อยู่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5261-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5261-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 111,715.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพที่ดีนั้นประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ด้วย 1.สุขภาพด้านร่างกาย 2.สุขภาพด้านจิตใจและอารมณ์ 3.สุขภาพด้านสติปัญญา 4.สุขภาพด้านสังคม ต่อการดำรงชีวิตในประจำวัน     ประเด็นที่ 1 วัยเด็กเป็นช่วงชีวิตที่มีความสำคัญต่อพัฒนาการตลอดช่วงชีวิต เด็กไม่ได้มีการเติบโตแต่เพียงร่างกายเพียงอย่างเดียว แต่มีการพัฒนาในทุกๆด้านขึ้นกับตัวเด็กและสิ่งต่างๆรอบ ๆ ตัวเด็กแต่ละคนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่แตกต่างกันออกไปขึ้นกับพลวัตรของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับสิ่งแวดล้อมภาวะสุขภาพและแรงสนับสนุนจากสังคมซึ่งมีส่วนสำคัญในการสร้างคุณภาพชีวิตพัฒนาการที่ดีจึงเป็นความรับผิดชอบหลักของสังคมครอบครัวจึงเป็นสิ่งแวดล้อมแรกที่สามารถส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตและหล่อหลอมความเป็นมนุษย์ด้วยการอบรมเลี้ยงดูโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัย 3 ขวบแรก จนถึงอายุ 12 ปี ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ในส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ด้านพัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าโดยการส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาทักษะทางสมอง และทักษะทางสังคมที่เหมาะสมโดยพัฒนาหลักสูตรการสอนปรับปรุงพัฒนาเด็กปฐมวัยและประถมศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เน้นการพัฒนาทักษะสำคัญต่างๆอาทิเช่นทักษะทางสมองทักษะด้านความคิด การสร้างสรรค์ ความจำทักษะ การควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและ ทักษะการเรียนรู้     ประเด็นที่ 2 อาหารนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะเด็ก เป็นช่วงที่สมองของเด็กมีการเติบโตมากกว่าช่วงวัยอื่นๆ การเริ่มต้นวันใหม่ด้วยอาหารเช้าตามหลักโภชนาการจะช่วยให้ร่างกายได้รับสารอาหารและวิตามินที่จำเป็นในแต่ละวันอย่างครบถ้วน มิเช่นนั้นมื้ออาหารที่เหลืออาจต้องรับประทานในปริมาณมาก เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่เหมาะสมในแต่ละวัน จึงไปกระจุกรวมเป็นอาหารมื้อใหญ่เพียง 1-2 มื้อ ซึ่งอาจเป็นผลเสียต่อสุขภาพตามมา ถ้าเด็กได้ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ก็จะทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ   ประเด็นที่ 3 การเรียนรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับธรรมชาติและการทำงานของสมองของคนทุกช่วงวัย การสร้างสรรค์สื่อ นวัตกรรม ซึ่งการพัฒนาสมอง การรับรู้ การเรียนรู้ในวัยเด็กเป็นสิ่งสำคัญ โดยเด็กต้องมีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างถูกต้องและมีการพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง แนวคิดการเรียนรู้ การพัฒนาสมองแบบ BBL เป็นการเรียนรู้จากการสัมผัส การเล่นสำหรับเด็กปฐมวัยถือได้ว่าเป็นหลักการสำคัญที่สุดที่จะพัฒนาการทางด้านร่างการเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการก้าวเข้าสู่ชั้นประถมศึกษา     ดังนั้นโรงเรียนบ้านไร่ จึงได้ทำโครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี ประจำปี 2565 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรม ส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ทำให้เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์ พัฒนาการในแต่ละช่วงวัยได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยที่ดี การเคลื่อนไหวที่ดี สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน คณะครู และผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี
  2. เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.1 – ป.6 ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเช้า ตามหลักโภชนาการสมวัย เสริมอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เช่น นม ไข่ เป็นต้น
  3. เพื่อส่งเสริมความรู้ เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี ให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่ทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
    กลุ่มวัยทำงาน 68
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 90 นักเรียน คณะครู และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี
    2. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเช้าตามหลักโภชนาการสมวัย ที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ 5 หมู่
    3. นักเรียนได้รับความรู้ เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน คณะครู และผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 นักเรียน คณะครู และผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.1 – ป.6 ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเช้า ตามหลักโภชนาการสมวัย เสริมอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เช่น นม ไข่ เป็นต้น
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเช้าตามหลักโภชนาการสมวัยที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ 5 หมู่
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมความรู้ เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี ให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่ทุกคน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับความรู้ เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 137
    กลุ่มวัยทำงาน 68
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน คณะครู และผู้ปกครองมีความรู้เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียนชั้น อ.1 – ป.6 ที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเช้า ตามหลักโภชนาการสมวัย เสริมอาหารให้ครบ ๕ หมู่  เช่น นม ไข่ เป็นต้น (3) เพื่อส่งเสริมความรู้ เรื่องโภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี ให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านไร่ทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กบ้านไร่ โภชนาการสมวัย สรรค์สร้าง เสริมสร้างความเข้มแข็ง สุขภาพอนามัยที่ดี จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5261-2-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายชัยวัฒน์ ทองก่อแก้ว ตำแหน่ง ครูโรงเรียนบ้านไร่ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด