กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรูชนา เจ๊ะฮะ

ชื่อโครงการ โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65 – L8423-2-10 เลขที่ข้อตกลง 16/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 สิงหาคม 2565 ถึง 30 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65 – L8423-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 สิงหาคม 2565 - 30 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,120.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ. 256๒ โดยสำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พบว่า กลุ่มเด็กอายุ 12 ปี มีประสบการณ์โรคฟันแท้ผุร้อยละ 52.0 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด 1.4 ซี่ต่อคนมีภาวะเหงือกอักเสบ 66.3% มากกว่าครึ่งหนึ่งของเด็กมีปัญหาการเกิดโรคฟันผุ ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงสำคัญ คือ พฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากที่ไม่เหมาะสม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีแป้งและน้ำตาลสูง เช่น น้ำหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามกระแสนิยม การมีโรคฟันผุเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบทั้งในระดับบุคคล สังคม และเศรษฐกิจ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาตั้งแต่เริ่มต้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะในเด็กวัยประถมศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุสูง เนื่องจากเป็นวัยที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นมาในช่องปาก สภาวะช่องปากของเด็กในกลุ่มนี้สามารถสะท้อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น นักเรียนจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักในการสร้างเสริมพฤติกรรมและสร้างสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ซึ่งจำเป็นต้องมีการดำเนินการร่วมกันทั้งภาคการศึกษา ภาคสาธารณสุข และภาคประชาชน จากรายงานการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต จำนวน ๔ แห่ง ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ พบว่า นักเรียนในโรงเรียนบ้านบาโงสะโต จำนวนทั้งหมด ๑๓๑ คน มีนักเรียนฟันแท้ผุ ๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๘.๑๖ นักเรียนในโรงเรียนบ้านตราแด๊ะ จำนวนทั้งหมด ๑๒๗ คน มีนักเรียนฟันแท้ผุ ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๗ นักเรียนในโรงเรียนบ้านบละแต จำนวนทั้งหมด ๖๔ คน มีนักเรียนฟันแท้ผุ ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๗ นักเรียนในโรงเรียนประชาบำรุง จำนวนทั้งหมด ๘๕ คน มีนักเรียนฟันแท้ผุ ๔๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๔ จากการสำรวจปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียน พบว่าปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากเด็กวัยประถมศึกษาลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้ง ทันตบุคลากร ผู้ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๗ บ้านบาโงสะโต ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต จึงเล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กและของตนเองได้อย่างยั่งยืนและเผยแพร่สู่ชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  3. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง ๒.เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง     ๓.เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้องร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    3 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี ร้อยละ ๘๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (3) เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอสม.ร่วมใจห่วงใยสุขภาพช่องปาก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 65 – L8423-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรูชนา เจ๊ะฮะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด