กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนา คนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพใน งานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ของบริการสาธารณสุขที่ให้บริการกับประชาชนทั่วไป และกลุ่มประชาชนกลุ่มหนึ่งที่สำคัญ และเกี่ยวข้องกับกลุ่มอื่น ๆนั้นคือ หญิงตั้งครรภ์ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ทุกคนจะต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งการฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุขซึ่งจุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพ คือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ เกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ก่อนคลอด 5 ครั้ง และรับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงของตนเอง วิธีการปฏิบัติตน ที่ถูกต้องที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือการคลอดในสถานบริการสาธารณสุข และการดูแลหลังคลอดให้ครบ  3 ครั้งตามเกณฑ์เช่นเดียวกัน ปัจจุบันข้อมูลอนามัยและเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์  ภาวะซีด ทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ของปีที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ ๖๒.๕๐ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๗๐) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์อายุครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๗๘.๙๕(เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๘๐) มารดามีภาวะซีดครั้งที่1 ร้อยละ ๓๕.๒๙ (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๔) ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๒๐(เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๗) ซึ่งยังมีบางตัวชี้วัดต่ำกว่าเกณฑ์ จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยโดยในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ"ส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ปี 2565" เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป ไปรับการตรวจสุขภาพเร็วที่สุดตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ รับการตรวจครรภ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ ฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง และได้รับการคลอดในสถานบริการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอด ตลอดจนสามารถดูแลลูกน้อยได้ ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
  2. กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามี
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่แกนนำชุมชน
  4. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อมูลแผนที่เดินดินตำบลนมแม่ และนำข้อมูลมาบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนตำบลนมแม่อย่างเป็นรูปธรรม
  5. กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด
  6. กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามี
  7. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่แกนนำชุมชน
  8. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อมูลแผนที่เดินดินตำบลนมแม่ และนำข้อมูลมาบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนตำบลนมแม่อย่างเป็นรูปธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงวัยเจริญพันธ์และตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีความตระหนัก ถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว โรคที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และทำให้การตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์คุณภาพ
  2. แกนนำสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักในงานอนามัยแม่และเด็ก
  3. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มสตรีและเด็กดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมาหรือบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอด ตลอดจนสามารถดูแลลูกน้อยได้ ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : 1. หญิงวัยเจริญพันธ์และตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีความตระหนัก ถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว โรคที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และทำให้การตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์คุณภาพ 2. แกนนำสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักในงานอนามัยแม่และเด็ก 3. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มสตรีและเด็กดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมาหรือบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอด ตลอดจนสามารถดูแลลูกน้อยได้ ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์  2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด (2) กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามี (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่แกนนำชุมชน (4) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อมูลแผนที่เดินดินตำบลนมแม่ และนำข้อมูลมาบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนตำบลนมแม่อย่างเป็นรูปธรรม (5) กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด (6) กิจกรรมและอบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานอยู่กินกับสามี (7) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แก่แกนนำชุมชน (8) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อมูลแผนที่เดินดินตำบลนมแม่ และนำข้อมูลมาบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนตำบลนมแม่อย่างเป็นรูปธรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กสู่ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด