กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรรรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลท่าข้าม ปี 2565
รหัสโครงการ L1480-65-1-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลปะเหลียน
วันที่อนุมัติ 1 สิงหาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 17,050.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวุฒิชัย ชัยศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.127,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น โรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดตรัง มีลักษณะแนวโน้มการเกิดโรคเป็นแบบระบาด 2 ปี เว้น 1 ปี อำเภอปะเหลียนเป็นพื้นที่ที่มีการเกิดผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกขึ้นด้วย ในปี 2565 นี้ในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม 5 หมู่บ้านเขตรับผิดชอบดูแลของศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียน) ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นเลย ผู้ป่วยเป็นจำนวน 0 ราย มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชน ช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำยุงลาย การพ่นหมอกควันและสารเคมีฆ่ายุงตัวแก่ แต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นในพื้นที่และพื้นที่รอบนอกใกล้เคียงยังคงมีผู้ป่วยเกิดขึ้นอยู่ จึงจำเป็นต้องป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกอยู่เพื่อไม่ให้มีการเกิดโรค เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปะเหลียนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุ

 

0.00
2 เพื่อให้เกิดความร่วมมือของชุมชนในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณส.ค. 65ก.ย. 65
1 กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำชุมชน/ตัวแทนครัวเรือน/ครู/ประชาชน(1 ส.ค. 2565-30 ก.ย. 2565) 0.00    
2 กิจกรรมที่ 2 สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์พร้อมทำลายลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน(4 ส.ค. 2565-4 ส.ค. 2565) 0.00    
3 กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่(4 ส.ค. 2565-4 ส.ค. 2565) 0.00    
รวม 0.00
1 กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำชุมชน/ตัวแทนครัวเรือน/ครู/ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรมที่ 2 สำรวจแหล่งเพาะพันธุ์พร้อมทำลายลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่เชิงรุกเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนลดลง
  2. มีความร่วมมือของชุมชนในการแก้ไขปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2565 10:10 น.