กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพาตีเมาะ นิแว (พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ)

ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-65-01-05 เลขที่ข้อตกลง 5/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2565 ถึง 5 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2498-65-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2565 - 5 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์มะเร็งเต้านม ซึ่งเป็นมะเร็งที่พบรายใหม่ต่อปีสูงที่สุดในโลกเมื่อนับรวมทั้งเพศชายและหญิง ซึ่งประเทศพัฒนาพบอุบัติการณ์สูงกว่าประเทศกำลังพัฒนา ส่วนประเทศไทยยังเป็นมะเร็งที่พบรายใหม่มากที่สุดเฉพาะในเพศหญิง เนื่องจากอุบัติการณ์ของมะเร็งเต้านมแปรผันตามรายได้ต่อหัวประชากร ซึ่งจากการพัฒนาประเทศของไทย ส่งผลให้รายได้ต่อหัวประชากรเพิ่มขึ้น จึงสามารถคาดการณ์ได้ว่าในอนาคตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่มีแต่จะเพิ่มขึ้น สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งเต้านมที่แน่นอนยังไม่ทราบแน่ชัด และปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือเพศหญิงและอายุที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ การควบคุมมะเร็งเต้านมด้วยการลดการป่วยทำได้ยาก จึงมาเน้นที่การลดการตายจากมะเร็งเต้านม สำหรับยุทธศาสตร์ในการควบคุมมะเร็งเต้านมที่ทั่วโลกใช้คือการค้นหามะเร็งเต้านมให้พบแต่เริ่มแรก เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษาที่รวดเร็ว เนื่องจากผลการรักษามะเร็งเต้านมระยะแรก ได้ผลการรักษาที่ดี ลดภาวะแทรกซ้อน อัตราการตายและต้นทุนการรักษาต่ำ อีกทั้งสามารถผ่าตัดเฉพาะก้อนมะเร็ง การคัดกรองมะเร็งเต้านมที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก มี 3 วิธีคือ วิธีแรกคือ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Breast Self Examination หรือ BSE) ทุกเดือน วิธีที่ 2 คือ การไปสถานบริการเพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตรวจเต้านมปีละ 1 ครั้ง และวิธีที่ 3 คือ การตรวจด้วยแมมโมแกรม การจะตัดสินว่าจะเลือกวิธีใดที่จะใช้เป็นชุดสิทธิประโยชน์ในการคัดกรอง การตรวจเต้านมด้วยตนเอง เรื่องที่มองดูง่าย แต่ไม่ง่ายอย่างที่คิด เนื่องจากการตรวจมะเร็งเต้านมมีมิติของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ความกลัว เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งต้องใช้หลายศาสตร์และหลายสาขาวิชาชีพเข้ามาบูรณาการในการทำงานร่วมกันถึงจะสามารถเพิ่มความครอบคลุมของการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพและสม่ำเสมอ จากการปฎิบัติงานในพื้นที่ตำบลยี่งอ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560-2565 พบผู้ป่วยรายใหม่ 9 คน เป็นการค้นพบรายใหม่ในระยะ Late stage เนื่องจากผู้ป่วยมีความกลัว อับอายไม่อยากให้ใครรู้ และต้องการไปรักษากับหมอบ้านตามความเชื่อ และจะมาหาหมอก็พบว่าอยู่ในระยะ 3-4 หรือแผลแตกเป็นดอกกะหล่ำไปแล้ว จากจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 9 คน ผู้ป่วยได้เสียชีวิตจำนวน 3 คน กำลังรักษา 5 คน และปฎิเสธการรักษา 1 คน และเชื่อว่ายังมีจำนวนผู้ป่วยอีกหลายคนที่ยังไม่เปิดเผยข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ด้วยเหตุนี้ผู้รับผิดชอบงานมะเร็งได้เล็งเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองด้วยตนเองอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งหรือตรวจโดยเจ้าหน้าที่ปีละหนึ่งครั้งเพื่อเป็นการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในระยะ Early stage (ระยะ 1-2)จึงได้จัดทำโครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็วรักษาได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ในระยะ Early stage (ระยะ 1-2)
  2. กลุ่มผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 190
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมที่ถูกต้อง
  • ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและบันทึกผลของตนเองและสมาชิกที่รับผิดชอบได้
  • ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการบันทึกและส่งต่อกลุ่มเป้าหมายเมื่อตรวจพบสิ่งผิดปกติได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ในระยะ Early stage (ระยะ 1-2)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับดี
0.00

 

2 กลุ่มผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกิจกรรมมีการประเมินผลการป้องกันและแก้ปัญหาของผู้เข้าร่วมโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 190
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ในระยะ Early stage (ระยะ 1-2) (2) กลุ่มผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมะเร็งเต้านมรู้เร็ว รักษาได้ ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-65-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพาตีเมาะ นิแว (พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด