กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน ”

โรงเรียนบ้านรัดปูน

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฤทัยชนก แก้วคง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านรัดปูน จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านรัดปูน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านรัดปูน รหัสโครงการ 2566-L5164-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,457.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นปัญหาสำคัญที่พบในประชาชนทุกกลุ่มวัย การมีสุขภาพช่องปากที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพร่างกายที่ดี ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิต เพราะเมื่อมีปัญหาสุขภาพช่องปากย่อมส่งผลต่อระบบอื่นๆ ของร่างกาย ซึ่งโรคฟันผุเป็นโรคที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็ก หากเกิดโรคฟันผุจะทำให้เด็กไม่สามารถบดเคี้ยวอาหารได้ อันจะส่งผลต่อสภาวะโภชนาการ การพัฒนาการด้านการเรียนรู้และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของเด็กเป็นอย่างมาก นอกจากนี้การพัฒนาการของโฆษณาขนมที่มีรสหวาน ซึ่งมีการผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย ความเจริญ ทางการโฆษณามากขึ้น ส่งผลให้มีการบริโภคขนมหวานซึ่งมีส่วนประกอบของแป้งและน้ำตาลสูง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคฟันผุง่ายขึ้น เด็กประถมศึกษาถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก เพราะเป็นช่วงวัยที่เริ่ม มีการเปลี่ยนแปลงชุดฟันในช่องปากจากฟันน้ำนมเป็นฟันถาวร ฟันที่เริ่มขึ้นมาในช่องปาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟันกรามถาวรซี่แรกที่ขึ้นเมื่อเด็กอายุประมาณ 6 ปี จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุสูงมาก เพราะการสะสมแร่ธาตุที่ผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และเด็กยังไม่สามารถแปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ โรคฟันผุเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยใช้มาตรการการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ฟลูออไรด์การใช้สารเคลือบหลุมร่องฟัน การแปรงฟัน เป็นต้น

จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านรัดปูน ปีที่ผ่านมา พบนักเรียนฟันผุ ร้อยละ 54 จากนักเรียนทั้งหมด 63 คน ซึ่งเกิดจากปัจจัยหลายๆ อย่าง ได้แก่ พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กที่ไม่ถูกวิธี เช่น การไม่ดื่มน้ำหลังจากการรับประทานอาหารและไม่แปลงฟันหลังรับประทานอาหารและก่อนเข้านอน ทั้งยังพบว่านักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการดูแลสุขภาพช่องปาก และไม่เห็นความสำคัญต่อฟันและช่องปาก ทำให้เกิดฟันผุ เนื่องจากการแปลงฟันที่ไม่ถูกวิธี แปลงฟันไม่สะอาด ไม่ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟรูออไรด์เพื่อป้องกันฟันผุ หรือในบางรายไม่แปลงฟันทั้งตอนเช้าและก่อนนอน จึงทำให้เกิดปัญหาต่างๆในช่องปากและฟัน

จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านรัดปูน จึงได้จัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูนขึ้น เพื่อให้นักเรียนทุกคน มีความรู้และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน อย่างถูกวิธี จะช่วยลดอัตรา การเกิดฟันผุ และเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก เพื่อรับการดูแลรักษาปัญหาช่องปาก ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน
  2. เพื่อสร้างแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปากนักเรียน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
  3. กิจกรรมสร้างแกนนำ "เพื่อนสอนเพื่อน"
  4. กิจกรรมติดตามผล
  5. กิจกรรมรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 63
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 4

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • นักเรียนได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปาก
  • มีแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปากประจำชั้นเรียน
  • นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
  • นักเรียนมีการแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารเที่ยง
  • นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการส่งต่อเข้ารับบริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปากนักเรียน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • คัดกรอง ประเมิน สุขภาพช่องปาก โดยครูประจำชั้นหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  • กรณีนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการส่งต่อเข้ารับบริการการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปาก 2.ร้อยละ100 ของนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการส่งต่อเข้ารับบริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดตั้งคณะทำงาน 2.ประชุมชี้แจงคณะทำงานเพื่อมอบหมายหมายหน้าที่การทำงาน 3.จัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม 4.ประเมินความรู้ ก่อน - หลัง การอบรม 5.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี

 

0 0

3. กิจกรรมสร้างแกนนำ "เพื่อนสอนเพื่อน"

วันที่ 26 กรกฎาคม 2566 เวลา 12:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดตั้งแกนนำ ชั้นเรียนละ 2 คน เพื่อเป็นแกนนำในการแปลงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง 2.ส่งเสริมการแปลงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปากประจำชั้นเรียน

 

0 0

4. กิจกรรมติดตามผล

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ตรวจประเมิน สุขภาพช่องปาก โดยครูประจำชั้นหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2.ประเมินผลหลังเสร็จสิ้นการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปากหลังเสร็จสิ้นโครงการ 2.นักเรียนร้อยละ 50 มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

 

0 0

5. กิจกรรมรายงานผลโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำรายงานผลโครงการฉบับสมบูรณ์ จำนวน 2 เล่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานฉบับสมบูรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี - ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีการแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหารเที่ยง - ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับการส่งต่อเข้ารับบริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น
0.00

 

2 เพื่อสร้างแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มีแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปากประจำชั้นเรียน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 67
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 63
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 4

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน (2) เพื่อสร้างแกนนำการดูแลสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองประเมินสุขภาพช่องปากนักเรียน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก (3) กิจกรรมสร้างแกนนำ "เพื่อนสอนเพื่อน" (4) กิจกรรมติดตามผล (5) กิจกรรมรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโรงเรียนบ้านรัดปูน จังหวัด

รหัสโครงการ 2566-L5164-02-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฤทัยชนก แก้วคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด