กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเกรียงไกร ไชยวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กันยายน 2565 ถึง 29 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3332-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กันยายน 2565 - 29 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงเช่นการเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงขาดการออกกำลังกายเครียดทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควรซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากข้อมูลสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี 2551 พบว่า อัตราตายต่อแสนประชากร จากโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวานเท่ากับ3.9, 21.2, 20.8 และ 12.2เรียงตามลำดับ ส่วนอัตราป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรค หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองและโรคเบาหวาน เท่ากับ 860.53, 185.72, 216.58 และ 675.7 ตามลำดับ จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาปะขออัตราการป่วยและอัตราการตายของประชากรในเขตรับผิดชอบ ปี 2561 พบอัตราป่วยโรคเบาหวาน 2,703.70 ต่อแสนประชากร โรคความดันโลหิตสูง อัตราป่วย 9,074.07 และอัตราตายโรคหัวใจและหลอดเลือด 134.95 ต่อแสนประชากร โรคมะเร็ง อัตราตาย 33.74 ต่อแสนประชากรและในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 274 คน สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ จำนวน 116 คน คิดเป็นร้อยละ 33.24และจากการคัดกรองสุขภาพ ปีงบประมาณ 2564 ( ตุลาคม 2563 - ธันวาคม 2563)พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานร้อยละ 23.88 และกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงร้อยละ 46.86 และพบว่าในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 117 คน สามารถควบคุมน้ำตาลได้จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 34.19 และในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 361 คน สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ จำนวน 171 คน คิดเป็นร้อยละ 47.37 ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาปะขอ จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการพัฒนาพฤติกรรม โรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง”ขึ้นเพื่อส่งเสริม /สนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนให้ความสำคัญกับการสร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายมีความแข็งแรงทั้งกาย ใจ สังคมจิตวิญญาณ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนในการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
  3. 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้
  4. 4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
  5. 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการอบสมุนไพร
  6. 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตสูงลดลงหลังการอบสมุนไพร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ค่าวัสดุอื่นๆ/ครุภัฑณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ทั้งความรู้เรื่องโรค การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การรับประทานอาหาร การรับประทานยา การออกกำลังกาย การตรวจเท้าและการดูแลเท้าได้ถูกต้องปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น
  2. ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถนำความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ทั้งความรู้เรื่องโรคการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การรับประทานอาหาร การรับประทานยา การออกกำลังกาย การตรวจเท้าและการดูแลเท้ามาใช้ดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
  3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้มากกว่าร้อยละ 40
  4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้มากกว่าร้อยละ 30
  5. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถลดอาการชาปลายมือปลายเท้าและระบบการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น
  6. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตสูงลดลงหลังการอบสมุนไพรมากกว่าร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (อัตราควบคุมโรคได้เพิ่มขึ้น)
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถนำความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ทั้งความรู้เรื่องโรคการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง การรับประทานอาหาร การรับประทานยา การออกกำลังกาย การตรวจเท้าและการดูแลเท้า มาใช้ดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม
0.00

 

3 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้มากกว่าร้อยละ 40
0.00

 

4 4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้มากกว่าร้อยละ 30
0.00

 

5 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการอบสมุนไพร
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถลดอาการชาปลายมือปลายเท้าและระบบไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น
0.00

 

6 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตสูงลดลงหลังการอบสมุนไพร
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตสูงลดลงหลังการอบสมุนไพรมากกว่าร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรู้ในเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  การดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหารและยา การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพตา ไต เท้า ทั้งสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับพฤติกรรมในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง ใช้ยาได้อย่างปลอดภัย ถูกวิธี  และลดการพึ่งพาการใช้ยาที่เกินความจำเป็น (3) 3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ (4) 4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ดี (5) 5. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการอบสมุนไพร (6) 6. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าความดันโลหิตสูงลดลงหลังการอบสมุนไพร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ค่าวัสดุอื่นๆ/ครุภัฑณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาพฤติกรรมโรคเบาหวาน - ความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเกรียงไกร ไชยวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด