กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม. ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเกรียงไกร ไชยวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม.

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม. จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม.



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3332-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คนจะมีผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 1 คน และอีก 2 คนเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพจิต เช่น เป็นญาติพี่น้อง คนในครอบครัว เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ อายุระหว่าง 15-35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำ งานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพ หรือ DALYs พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 คนไทยสูญเสียสุขภาวะ (DALYs) ทั้งที่ควรจะมีชีวิตอยู่อย่างสุขภาพดี โดย 10 อันดับแรกสำหรับเพศชายมีโรคซึมเศร้าอยู่ในอันดับที่ 10 และในเพศหญิงโรคซึมเศร้าอยู่อันดับที่ 3 การสำรวจระดับชาติล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยร้อยละ 14 หรือ 9 ล้านกว่าคนมีปัญหาสุขภาพจิตและในภาวะวิกฤต เช่น ภัยธรรมชาติ แผ่นดินไหว จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับประชาชนจำนวนมากโดยเฉพาะวัยรุ่นและวัยทำงาน เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำ เนินชีวิต การประกอบอาชีพทั้งของผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตเอง คนใกล้ชิดและครอบครัว ชุมชนหากมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีแนวทางในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตก็จะช่วยลดสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบเหล่านี้ลงได้ การส่งเสริมสุขภาพจิตคือ การส่งเสริมให้ประชาชนทุกเพศวัยได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการดูแลตนเอง และอยู่ในสิ่งแวดล้อม ครอบครัว สังคม ชุมชน ที่เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพจิตที่ดี ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพจิตจึงเกิดจากการที่สังคมชุมชนดูแลคุณภาพชีวิตของประชาชนการจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งร่างกายจิตใจและการที่ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลจิตใจตนเอง และการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต คือ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช โดยการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น ความเครียดระยะยาว ความก้าวร้าวรุนแรง และเพิ่มปัจจัยปกป้อง เช่น การให้กำลังใจ การช่วยเหลือด้านการอาชีพ แก่ประชาชนทุกเพศวัย การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตดำเนินการในกลุ่มประชาชนทุกเพศวัยในกลุ่มปกติ เช่น การจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในที่ทำงานเพื่อลดความเครียด การจัดค่ายป้องกันยาเสพติดสำหรับวัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยง เช่น การดูแลทางสังคมจิตใจกลุ่มวัยรุ่นตั้งครรภ์ การคัดกรองและดูแลทางสังคมจิตใจในผู้ป่วยโรคเรื้อรังการดูแลทางสังคมจิตใจผู้ดูแลผู้สูงอายุติดเตียง เป็นต้น จากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอ ในปีงบประมาณ 2565 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 คน และมีปัญหาผู้ป่วยสุขภาพจิตไม่ได้ยารับตามนัดและรับประทานยาไม่สม่ำเสมอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอ มีผู้ป่วยจิตเวชที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 22 รายโดยแยกเป็นผู้ป่วยที่มีการผู้ดูแลและได้รับยาต่อเนื่อง จำนวน 15 รายคิดเป็นร้อยละ 68.19 และผู้ป่วยที่ไม่ได้รับต่อเนื่องจำนวน 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.82 ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาปะขอจึงได้จัดทำโครงการ“โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม.”ขึ้นเพื่อส่งเสริม/สนับสนุนพัฒนาศักยภาพอสม. ด้านสุขภาพจิตในชุมชนและสามารถคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชนได้โดยกระตุ้นให้อสม.และประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองทั้งด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รู้ถึงอาการที่ผิดปกติของ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ
  4. อัตราการเกิดฆ่าตัวตายในชุมชนไม่มี
  5. เพื่อให้อสม.ได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบ ยอมรับซึ่งกันและกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ส่งเสริมด้านสุขภาพจิตในชุมชน 2.กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน 3.กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ
4.กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้ดเครื่องมือสำหรับประเมินสุขภาพจิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

2 ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รู้ถึงอาการที่ผิดปกติของ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา
ตัวชี้วัด : สามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อได้ 100 %
0.00

 

3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
0.00

 

4 อัตราการเกิดฆ่าตัวตายในชุมชนไม่มี
ตัวชี้วัด : ไม่พบอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
0.00

 

5 เพื่อให้อสม.ได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบ ยอมรับซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันและกัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รู้ถึงอาการที่ผิดปกติของ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา (3) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้รับการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ (4) อัตราการเกิดฆ่าตัวตายในชุมชนไม่มี (5) เพื่อให้อสม.ได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบ ยอมรับซึ่งกันและกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองสุขภาพจิตในชุมชน โดย อสม. จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3332-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเกรียงไกร ไชยวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด