กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางนารีรัตน์ เบ็ญสลาหมัน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงวัยคือหลักชัยของสังคม เป็นความจริงที่ยากจะปฏิเสธ ความมีอายุยืนยาวที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นสิ่งที่ปรารถนาของทุกคน ผู้สูงอายุถือได้ว่าเป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุณค่าเป็นผู้ที่ได้ใช้ชีวิตผ่านห้วงเวลาของการทำงานเพื่อสังคมและประเทศชาติมาอย่างยาวนานเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ มีประสบการณ์รวมทั้งภูมิปัญญาที่ผู้สูงอายุได้มีการสั่งสม และถ่ายทอดสืบต่อๆกันมา จากรุ่นสู่รุ่น นับตั้งแต่วัยเด็กจนกระทั่งถึงช่วงอายุ 20 ปีต่อมา จนกระทั่งวัย 40 ปี เป็นวัยแห่งการทำงานและวัยแห่งการสร้างครอบครัว และเริ่มก้าวสู่ช่วง 20 ปีต่อมา และก้าวสู่วัย 60 ปี ซึ่งนับเป็นวัยที่เริ่มต้นของการก้าวสู่วัยผู้สูงอายุซึ่งเป็นวัยที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ ผู้สูงอายุควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพตนเอง พัฒนาศักยภาพตนเอง มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีกิจกรรมจิตอาสา ช่วยเหลือเพื่อนสมาชิกและสังคมเป็นการเสริมคุณค่าชีวิตและเสริมสร้างสุขภาวะ   ฉะนั้นแกนนำและผู้สูงวัยต้องมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความเข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพ ดูแลสุขภาพตนเอง ตามแนวทาง 6 องค์ประกอบ คือ ด้านการเคลื่อนไหว ด้านโภชนาการ ด้านสมอง สุขภาพช่องปาก ความสุขและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้แกนนำสุขภาพให้มีความรู้ในการดูและผู้สูงอายุและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้อยู่อย่างมีความสุขไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียด เพิ่มความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำ ได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์  สามารถดูแลสุขภาพของตัวเองได้ 2.  ผู้สูงอายุมีโอกาสแสดงความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ ตนเอง  ครอบครัว และชุมชน 3.  แกนนำสุขภาพ มีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 4.  แกนนำสุขภาพมีความรู้พร้อมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้และมีชมรมผู้สูงอายุที่ยั่งยืนมีกิจกรรมต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียด เพิ่มความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำ ได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุและแกนนำ มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง 2.ร้อยละ90ผู้สูงอายุและแกนนำ ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข 3.ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุมีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.เพื่อให้มีกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีกิจกรรมคลายเครียด เพิ่มความสนุกสนานในชมรมผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ แกนนำ ได้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวา ยืนยาว ปีงบประมาณ 2565 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนารีรัตน์ เบ็ญสลาหมัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด