กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก


“ โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจรวย เพ็ชรแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5248-02-65-17 เลขที่ข้อตกลง 26/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-02-65-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (WHO) คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นเป็น 570 ล้านคน ในปี  พ.ศ. 2563 ร้อยละ 50 เป็นกลุ่มผู้ที่มีอายุมากกว่า 65 ปี ปัจจุบันสังคมไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ จากการศึกษา พบว่ามีผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ร้อยละ 43.9 ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากข้อเข่าเสื่อม ซึ่งผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จะเกิดความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป  เดินได้ไม่ปกติ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ไม่สะดวก มีความทุกข์ทรมานทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โรคข้อเข่าเสื่อม หรือ osteoarthritis of knee คือ โรคที่มีการเสื่อมของข้อเข่า ตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน คือ ที่กระดูกอ่อนผิวข้อ (articular cartilage) ชนิดที่มีเยื่อบุ (diarthrodial joint) โดยพบการทำลายของกระดูกอ่อนผิวข้อ และกระดูกบริเวณใกล้เคียง เช่น ขอบกระดูกในข้อ (subchondral bone) หนาตัวขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงของน้ำไขข้อ ทำให้การหล่อลื่นลดลง มักพบปัญหาเหล่านี้ในผู้สูงอายุ โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่นๆกำเริบ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังไม่ได้ โรคข้อเข่าเสื่อมทำให้เกิดอาการปวด เข่าบวม เข่าฝืดยึด มีเสียงในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติ ซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่วัยหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมากๆทำให้ต้องรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณเข่ามาก่อน จากการสำรวจผู้สูงอายุในพื้นที่บ้านควนเสม็ด พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจในเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม และวิธีป้องกันโรคอย่างถูกต้อง จึงมีปัญหาปวดข้อและปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำ และมักมีการใช้ยาแก้ปวด ยาชุด ยาซอง มาบรรเทาอาการปวด ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อม โดยการป้องกันหรือชะลอ ไม่ให้เกิดภาวะดังกล่าว รวมถึงแนวทางการดูแลตนเองจากอาการข้อเข่าเสื่อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และการดูแลตนเอง
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและอาการปวดเมื่อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 60
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม รู้ถึงภาวะแทรกซ้อน และการดูแลตนเอง 2 กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถป้องกันอาการปวดเข่า และอาการปวดเมื่อย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และการดูแลตนเอง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และการดูแลตนเอง
    0.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและอาการปวดเมื่อย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและอาการปวดเมื่อย
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 60
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และการดูแลตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและอาการปวดเมื่อย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการใส่ใจ เข้าใจ ป้องกันข้อเข่าเสื่อม ประจำปี 2565 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5248-02-65-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจรวย เพ็ชรแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด