กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง


“ โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูซานา ดือราแม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3053-1-09 เลขที่ข้อตกลง 9/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะบิ้ง อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3053-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 สิงหาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้ภูมิปัญญาแพทย์ไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ซึ้งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่สังคมวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้สมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้อย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่อยู่ในชุมชนได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ขาดการสืบทอด และผู้รู้ส่วนใหญ่ซึ่งจะมีจำนวนลดลงทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้งๆที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธุ์พืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพร วิธีการรักษาโรคตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณี และวิธีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ สมุนไพรคือของขวัญที่ธรรมชาติมอบให้กับมวลมนุษยชาติ ดังนั้นจำเป็นต้องมีการสนับสนุนส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่หาได้ง่ายในชุมชน เนื่องจากจะได้ไม่เกิดความยากลำบากในการจัดหาและการจัดทำรวมถึงปลูกไว้ใช้เองในครัวเรือนควบคู่กับการทำพืชสวนชนิดอื่นๆ การส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกรสมุนไพร และคุณประโยชน์ของสมุนไพรใกล้ตัวที่มีคุณค่ามากกว่าการใช้บริโภคเพียงอย่างเดียวจึงเกิดขึ้น การส่งเสริมสุขภาพประชาชนด้วยการพึ่งตนเองจึงเน้นการดูแลรักษาสุขภาพในเบื้องต้นก่อนโรคภัยไข้เจ็บจะมาถึงด้วยสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนถึงการแปรรูปสมุนไพรในรูปแบบต่างๆ ในเขตองค์การบริหารส่่วนตำบลตะบิ้ง มีภูมิปัญญาชาวบ้าน สมุนไพรต่างๆ และมีบุคลากรที่เป็นหมอพื้นบ้าน สามารถนำสมุนไพรที่อยู่ในชุมชนมารักษาชาวบ้าน เช่น บรรเทาอาการโรคนิ่ว ไต และโรคอื่นๆ สามารถจดทะเบียนยาสมุนไพรแผนโบราณต่อไป เพื่อเป็นการอนุรักษ์ วิถีชีวิตประชาชนในพื้นที่ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
  2. ประชาชนมีความรู้ในการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น
  3. สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้และทักษะในการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น
  3. สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ประชาชนมีความรู้ในการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร (2) ประชาชนมีความรู้ในการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น (3) สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3053-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสูซานา ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด