กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่ ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาตีเม๊าะ ฮามิดง




ชื่อโครงการ สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8278-01-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L8278-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,505.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือด เป็นต้น จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.2550 พบว่าคนไทยที่มีอายุเกิน 15 ปีและสูบหรี่มากถึงเกือบ 11 ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำ และอีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งคราว เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2549 พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5) เชื่อกันว่าเป็นผลมากจากประเทศไทยไม่มีการ ให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบ และไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 4 หรือกว่า 2 ล้านผศ.นพ.ครรชิต ลิขิตธนสมบัติ นายกสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจและโรคเส้นเลือดสมอง คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เปิดเผยว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและ หลอดเลือดแดงตีบตัน ซึ่งหมายถึง หลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองถึงปีละ 100,000 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย ในแต่ละปี และ "1 ใน 5ของคนไทยที่เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่"ในขณะที่คนไทยที่มีอายุระหว่าง 30 - 45 ปี ที่สูบบุหรี่มีโอกาสเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าคนที่ไม่สูบถึง 4 เท่าหรือหากกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ เกือบ ครึ่งหนึ่งของคนวัยหนุ่มสาว ถึงกลางคนที่เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่การสูบบุหรี่เพียงหนึ่งถึงสองมวนต่อวันก็เพิ่มความเสี่ยง ในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ แม้แต่การสูบบุหรี่ไฟฟ้าก็มีสารนิโคตินซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ที่เคยสูบบุหรี่ และสามารถเลิกบุหรี่ได้ สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ถึงร้อยละ 30 ขณะที่ ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์ เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กล่าวถึง "ควันบุหรี่มือสอง" หรือคนที่ไม่ได้สูบบุหรี่ แต่อยู่ใกล้ผู้สูบต้องทนสูดควันบุหรี่ที่ผู้สูบพ่นออกมา ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตันได้ โดยการได้รับควันบุหรี่ มือสองเพียง30 นาที ก็เกิดอันตราย ต่อเยื่อบุหลอดเลือด และทำให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจลดลงได้ ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า แต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และสมอง ปีละ 2,615 คน จากจำนวนผู้ที่เสียชีวิตจาก ควันบุหรี่มือสองทั้งหมดปีละ 6,500 คน พื้นที่ตำบลบันนังสตา มีจำนวนประชากรทั้งหมด 13,700 คนและประชากร 15 ปีขึ้นไป จำนวน 9,385 คน เพศชาย จำนวน 3,712 คน เพศหญิง จำนวน 5,673 คน ปี 2564 ได้คัดกรองบุหรี่ จำนวน 7,152 คน ไม่เคยสูบบุหรี่ 5,864 คน เคยสูบเลิกแล้ว 135 คน สูบ 1,153 คน บำบัด 849 คน พฤติกรรมของคนสูบบุหรี่สามารถสูบบุหรี่ได้ทุกสถานที่ ไม่มีพื้นที่กำหนดเฉพาะ จึงมีโอกาสเสี่ยงที่ทำให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้นอีกทั้งมีโอกาสสูบติดต่อกันจำนวนหลายมวนด้วยความเคยชิน ที่สำคัญคือทำให้ผู้อื่นที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ที่มีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่แตกต่างจากคนสูบบุหรี่หรือมากกว่าคนสูบบุหรี่
จากการคัดกรองบุหรี่ในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปของหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงมีความประสงค์จัดทำโครงการ “สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่” ในปีงบประมาณ 2565เพื่อให้ประชาชนตระหนักและรณรงค์ให้สมาชิกในชุมชนเลิกยาสูบและบุหรี่ได้ และลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน และสามารถทำให้ชุมชนปลอดบุหรี่ 100% ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่
  2. เพื่อส่งเสริมจัดสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
  3. เพื่อคัดเลือกครอบครัวต้นแบบที่ไม่สูบบุหรี่ในชุมชนและต้นแบบเลิกบุหรี่สำเร็จ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องโทษและพิษภัยของบุหรี่
  2. 1.2 กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่สำเร็จ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงโทษ พิษภัยและผลกระทบของบุหรี่
  2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ สามารถลด ละ เลิกบุหรี่
  3. ลดอัตราผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมจัดสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : พื้นที่สาธารณะปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย
0.00

 

3 เพื่อคัดเลือกครอบครัวต้นแบบที่ไม่สูบบุหรี่ในชุมชนและต้นแบบเลิกบุหรี่สำเร็จ
ตัวชี้วัด : บุคคลต้นแบบผู้ที่สามารถเลิกบุหรี่สำเร็จ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่ (2) เพื่อส่งเสริมจัดสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย (3) เพื่อคัดเลือกครอบครัวต้นแบบที่ไม่สูบบุหรี่ในชุมชนและต้นแบบเลิกบุหรี่สำเร็จ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องโทษและพิษภัยของบุหรี่ (2) 1.2 กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่สำเร็จ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


สานพลังชุมชน ปอดใสไรควันบุหรี่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L8278-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาตีเม๊าะ ฮามิดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด