กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5211-01-04 เลขที่ข้อตกลง 09/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5211-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอับดับ ๑ และ ๒ ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติปี ๒๕๖๔ พบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสัดส่วนร้อยละ ๓๖.๓ ของมะเร็งทุกชนิดในสตรี โรคมะเร็งที่พบรองลงมา ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านม,โรคมะเร็งช่องปาก,โรคมะเร็งปอด และโรคมะเร็งรังไข่ ฯลฯ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งฯ ลดลงกระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้บรรจุแผนงาน/โครงการ เกี่ยวกับโรคดังกล่าวขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัดคือสตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจ PAP smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ (ผลงาน ๑ ต.ค.๒๕๖๓ ถึง ๓๐ ก.ย.๒๕๖๔) และสตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๗๐ ปี ต้องได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองจากเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครสาธารณสุข ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ซึ่งจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในรอบ ๕ ปี ถึงเดือนปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา พบว่าจำนวนผู้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ ๑๗.๘๒ (จากฐานข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔)และสตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๗๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองจากเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครสาธารณสุข ร้อยละ ๗๙.๗๘ (จากฐานข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายที่กำหนดและประกอบกับได้พบเห็นผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมได้รับความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วย รัฐบาลและผู้เกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมอยู่อย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถค้นหาโรคมะเร็งในระยะเริ่มต้น,สามารถให้การช่วยเหลือ ดูแล รักษาได้ ผู้ป่วยก็จะไม่ต้องทุกข์ทรมานมากและก็จะสามารถมีอายุที่ยืนยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจากประสบการณ์การทำงานในชุมชนและจากการวิเคราะห์ตามสถานการณ์พบว่า งานการเฝ้าระวังการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่ค่อยมารับบริการ ทั้งนี้เพราะสตรีเป็นเพศที่มีความละอาย มีความอดทนและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สตรีที่อยู่ในชนบทจะมีความอดทนสูง ความละอายความไม่กล้าและความอดทนที่มีอยู่นี้ก็อาจจะเป็นทั้งคุณและโทษในคราวเดียวกันได้ เช่นเมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับเรื่องของอวัยวะเพศแล้วไม่กล้าพูด ไม่กล้าบอกใคร ถึงเจ็บปวดก็มีความอดทน สิ่งนี้หากเขาเป็นโรคร้ายก็อาจสายเกินแก้ที่ไม่สามารถช่วยได้ในภายหลังงานการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจึงเป็นงานยากต่อการปฏิบัติ เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ทีมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร, อาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำองค์กรชุมชน มีความตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงเกิดแนวความคิดในการทำงานร่วมกัน นำรูปแบบการทำงานเชิงรุกมาใช้โดยการใช้ศักยภาพของชุมชนที่มีอยู่อย่างเต็มที่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ผสมผสานกับวิทยาการทางการแพทย์สอดแทรกเสริมให้กับกลุ่มพลังมวลชน การที่คนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพให้สมกับความเป็นมนุษยชาติสามารถช่วยเหลือดูแลตนเอง ช่วยเหลือดูแลบุคคลในครอบครัวและบุคคลอื่นในชุมชนให้พ้นจากพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สร้างคนให้เป็นคนดีมีคุณภาพต่อสังคมส่งผลให้ประชาชนในชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาวสามารถอยู่ในสังคมได้ด้วยความปกติสุขไม่เป็นภาระของประเทศชาติ นับเป็นคุณอนันต์ที่จะก่อให้เกิดกุศลกรรม(คือผลแห่งการกระทำความดี) ของประชาชนในชาติได้เป็นอย่างดียิ่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารร่วมกับแกนนำชุมชน จึงได้คิดจัดทำการพัฒนานวัตกรรมทำโครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนเกิดการตื่นตัวในการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    2. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    3. ประชาชนมีความต่อเนื่องในการตรวจ  ติดตามและปฏิบัติกันจนเป็นวิถีชีวิตที่ยั่งยืน
    4. ประชาชนในพื้นที่ไม่พบการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีผู้เข้าร่วมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 89 คน
    2. กิจกรรมให้ความรู้ในสถานบริการและสถานบริการเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรีอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 104 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L5211-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด