กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65L8406-01-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65L8406-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมความพร้อม ก่อนการตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ และการดูแลหลังคลอด เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยจาก ภาวะแทรกซ้อน และมีคุณภาพสมบูรณ์แข็งแรง ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญและเด่นชัด คือ การมาฝากครรภ์ช้าอายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ มีภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ มารดาตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยง และมารดาหลังคลอดไม่มีความรู้ด้านการวางแผนครอบครัว

จากกการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพและการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขงานอนามัยม่และเด็ก ประจำปี 2564 พบว่า ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ผลการดำเนินงานยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด หากหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง จะส่งผลกระทบทั้งมารดาและทารกในครรภ์ ส่งผลให้ทารกคลอดก่อนกำหนด คลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมทารกเสียชีวิตในครรภ์ มารดาตกเลือดและติดเชื้อหลังคลอด และพบว่ามารดาตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยงเพิ่มมากขึ้น เช่น เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (ครรภ์เป็นพิษ) ภาวะคลอดก่อนกำหนด มีประวัติผ่าตัดคลอดเพิ่มมากขึ้น ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาในระยะยาว และต่อเนื่อง แนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าวคือต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ ตอบสนองความต้องการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของชุมชน เครือข่ายและชมรม อสม.ที่เข้มแข็ง เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็กปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อลดปัญหาดังกล่าว และเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์และสามี /ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
  3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนมารดาหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
  4. เพื่อสร้างแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาทักษะ แกนนำอสม./ภาคีเครือข่าย เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมช
  2. อบรมให้ความรู้ กิจกรรมโรงเรียนพ่อ แม่ (หลักสูตร 1 หลักสูตร 2 ) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามี / ญาติผู้ดูแล และการตรวจคัดกรองทารกกลุ่ม อาการดาวน์ซินโดร
  3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และประกวดคุณแม่ต้นแบบด้านการดูแลตนเองและลูกน้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 116
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการเฝ้าระวังป้องกัน ไม่ให้เกิดอาการแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 3.ภาคีเครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอดได้อย่างถูกต้องสามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อได้ทันท่วงที 4.เด็กแรกเกิด – อายุต่ำกว่า ๖ เดือน กินนมแม่อย่างเดียว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์และสามี /ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 60 -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
60.00 80.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อได้ทันท่วงที และได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนมารดาหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
50.00 60.00

 

4 เพื่อสร้างแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 216
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 116
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์และสามี /ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ (3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนมารดาหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (4) เพื่อสร้างแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาทักษะ แกนนำอสม./ภาคีเครือข่าย เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมช (2) อบรมให้ความรู้ กิจกรรมโรงเรียนพ่อ แม่ (หลักสูตร 1 หลักสูตร 2 ) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามี / ญาติผู้ดูแล และการตรวจคัดกรองทารกกลุ่ม อาการดาวน์ซินโดร (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และประกวดคุณแม่ต้นแบบด้านการดูแลตนเองและลูกน้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและใส่ใจดูแลแม่และเด็ก ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65L8406-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา เหมือนพะวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด