กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปานิมาส รุยัน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3351-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง ซึ่งมียุงเป็นพาหะนำโรค สามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี แต่มักพบการระบาดในฤดูฝนผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอยตลอดเวลาหน้าแดงปวดศีรษะเบื่ออาหารอาเจียนซึมถ้ารักษาไม่ทันอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2565 ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. -20 มิ.ย. 65พบผู้ป่วย 5,196 ราย เสียชีวิต 6 ราย กลุ่มอายุพบมากที่สุดคือ อายุ 5-24 ปี รองลงมา อายุ 10-14 ปี ตามลำดับ การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ คาดว่าในช่วงนี้มีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น แม้ว่าจำนวนผู้ป่วย ณ ช่วงเวลาเดียวกันในปี 2565 จะมีรายงานผู้ป่วยน้อยกว่า ปี 2564 ก็ตาม แต่ประเทศไทยจะมีฝนตกหนักและฝนตกสะสมหลายพื้นที่ ซึ่งหากฝนตกอาจทำให้เกิดน้ำขังตามภาชนะและวัสดุต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายได้ สำหรับจังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ 1 มกราคม – 23 กรกฎาคม 2565 มีผู้ป่วย จำนวน 38 ราย คิดมีอัตราป่วย 7.2 ต่อแสนประชากร มี อำเภอเมืองพัทลุง คิดเป็นอัตราป่วย 5.8 ต่อแสนประชากร เป็นอันดับที่ 6 ของจังหวัด (สำนักงานสาธารณสุขจังฟวัดพัทลุง, 2565) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงมีหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งหมด 6 หมู่บ้านจำนวน 849 หลังคาเรือนโรงเรียน 1 แห่งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง วัด 2 แห่ง จากข้อมูลรายงาน 506 ตั้งแต่ 1 มกราคม – 31 กรกฎาคม 2565 ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือด อัตราป่วยต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ถึงแม้ไม่มีผู้ป่วยแต่ดัชนี้ลูกน้ำยุงลาย ทั้ง HI และ CI เกินค่ามาตรฐาน ทุกปีชุมชนได้ดำเนินการกิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน ร่วมดำเนินการในรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและควบคุมโรคกรณีมีผู้ป่วย จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนยังเกินค่ามาตรฐาน (CI ≤10) ภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายส่วนใหญ่ เป็นภาชนะเหลือใช้บริเวณรอบบ้าน เช่น ยางรถยนต์ แก้วน้ำพลาสติก ขวดน้ำ เป็นต้น และยังพบว่าประชาชนในบางครัวเรือนยังขาดความตระหนักการจัดสภาพแวดล้อมทั้งในบ้านและรอบบ้านให้เรียบร้อย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำที่บ้านของตนเองอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ตำบลโคกชะงายยังคงมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ได้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก จึงจัดโครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 ขึ้น เพื่อดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเน้นให้ชุมชนประชาชนโรงเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ช่วยลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านส่งผลให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในตำบลโคกชะงายลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันที่ถูกต้อง
  2. เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน (CI) ไม่เกินร้อยละ 10

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมให้ความรู้ประชาชนในหมู่บ้าน
  2. รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,192
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ทุกหลังคาเรือนทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
  • ลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10
  • ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกัน ทำลายภาชนะเสี่ยงที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมให้ความรู้ประชาชนในหมู่บ้าน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมให้ความรู้กับประชาชนในหมู่บ้านและร่วมประชุมประจำเดือน
  2. ประชาสัมพันธ์มาตรการป้องกันควบคุมโรคในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนทุกหมู่บ้านรับความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและมาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทราบภาชนะเสี่ยงที่บ้านตนเองและทำลายได้อย่างถูกต้อง อสม. และประชาชน ร่วมเดินรณรงค์ไข้เลือดออก จำนวน 60 คน

 

0 0

2. รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำแผนการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย
  • ลงพื้นที่สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  • เมื่อมีผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลงพื้นที่ควบคุมโรคตามมาตรการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกิน ร้อยละ 10
  • ผลการดำเนินงาน จากการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน แต่ละครั้ง รวมทั้งการสำรวจลูกน้ำยุงลายของ อสม. ครัวเรือนที่รับผิดชอบทั้งหมด 872 ครัวเรือน นำผลการรณรงค์มาวิเคราะห์ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย พบว่า ดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินร้อยละ 10
  • ตารางที่ 1 ดัชลูกน้ำยุงลายจากการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน(ครัวเรือน 872 ครัวเรือน)   ครั้งที่ 18 พฤษภาคม 2566 ดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน 9.05 ดัชชีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ 5.09 หมายเหตุ:เกณฑ์ HI = 0 % และ ค่า CI < 10 %     จากข้อมูลรายงาน 506 ของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองพัทลุง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 - 25 กรกฎาคม 2566 พบว่าพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเลย อัตราป่วย 0.00 /ประชากรแสนคน และอันตราป่วยต่ำกว่ามัธยมฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (ค่ามัธยมฐาน 5 ปี ย้อนหลัง อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก คือ 260.03 ต่อแสนประชากร)
  • ตารางที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก และอัตราป่วย จำแนกรายหมู่บ้าน (วันที่ 1 มกราคม 2566 - 25 กรกฎาคม 2566)   หมู่ที่ 2 บ้านโคกชะงาย ประชากร 841 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   หมู่ที่ 3 บ้านโคกกอ ประชากร 448 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   หมู่ที่ 4 บ้านลำพาย ประชากร 432 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   หมู่ที่ 5 บ้านหนองจิก ประชากร 385 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   หมู่ที่ 6 บ้านโคกมะม่วง ประชากร 314 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   หมู่ที่ 8 บ้านควน ประชากร 590 คน จำนวนผู้ป่วย 0 คน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00   รวม ประชากรทั้งหมด 3010 จำนวนผู้ป่วย 0 คน  อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน 0.00

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกัน ทำลายภาชนะเสี่ยงที่ถูกต้อง
1.00 1.00

 

2 เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน (CI) ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : ลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10
12.23 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3192
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,192
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องโรคไข้เลือดออกและการป้องกันที่ถูกต้อง (2) เพื่อลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในชุมชน (CI) ไม่เกินร้อยละ 10

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมให้ความรู้ประชาชนในหมู่บ้าน (2) รณรงค์และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปานิมาส รุยัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด