กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1.นายมิตร นวนชุม 2.นางละเอียด สุวรรณชาตรี 3.นางสมจิต ชูแก้ว 4.นางสาวรัตนา กาญจนสิงห์ 5.นางวรรณา ทองด้วง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-02-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3351-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์แนวโน้มของประเทศไทยมีผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น และกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีสภาพร่างกายที่เสื่อมและถดถอยลงเป็นผลที่ทำให้โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ สามารถเข้ามาเบียดเบียนได้ง่าย จึงควรมีการสร้างระบบการดูแลสุขภาพเพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาโรคปวดเข่า โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นความเจ็บป่วยเรื้อรังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาที่ทำให้ผู้สูงอายุทำให้เกิดความลำบากในการเคลื่อนไหวอันเป็นภาระต่อตนเองและผู้ดูแลก่อให้เกิดปัญหาทางคุณภาพชีวิตและจิตใจ อีกทั้งสูญเสียเวลาและค่ารักษาเป็นจำนวนมาก สถานการณ์โรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย5 ปีย้อนหลัง พบว่ากลุ่มอาการเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ ได้แก่ อาการโรคปวดเมื่อย ปวดข้อ ข้อเข่าเสื่อม เป็นกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการป่วยในลำดับ 1 ใน 10 มาตลอด ในปีงบประมาณ 2565 อยู่ในลำดับที่ 5 มีผู้ป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดเข่า จำนวน 271 ราย จากผู้ป่วยทีมารับบริการทุกกลุ่มโรค 3,018 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.97 ของผู้ป่วยที่มารับบริการทั้งหมด โดยสภาพผู้ป่วยจะเป็นปัญหาโรคเรื้อรัง มีการใช้ยาลดบรรเทาปวด (N-SAID) ซึ่งเป็นยาแผนปัจจุบันอยู่เป็นประจำ ซึ่งเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรังและอาจเป็นอันตรายทำให้ค่าไตเสื่อมเร็วขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อม จึงได้จัดทำส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย เพื่อหวังที่จะให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ลดปัญหาการใช้ยาแผนปัจจุบันโดยเน้นการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นตามแนวทางแพทย์แผนไทย ซึ่งไม่ต้องใช้ยาซึ่งอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปได้มีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่าหรือโรคเข่าเสื่อมมีความรู้เกี่ยวกับโรคเข่าเสื่อม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า หรือโรคข้อเข่าเสื่อมมีทักษะการดูแลสุขภาพเข่าของตนเองด้วยสมุนไพร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมและฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร
  2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่าหรือโรคเข่าเสื่อมได้รับความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร
ผู้สูงอายุทุกคนที่มีปัญหาปวดเข่ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมและฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายสนใจเข้าร่วมโครงการ
  2. จัดอบรมอบรมและฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการอบรมอบรมและฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร ผู้สูงอายุทุกคนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้การใช้สมุนไพรการลดอาการปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100 ทุกคนสามารถบริหารเข่าของตนเองได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

วันที่ 28 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร เล่าประสบการณ์การนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน เลือกใช้สมุนไพรข้างบ้านมาใช้ดูแลสุขภาพเบื้องต้นแทนการใช้ยาแผนปัจจุบัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่าหรือโรคเข่าเสื่อมมีความรู้เกี่ยวกับโรคเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่าหรือโรคเข่าเสื่อมมได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเข่าเสื่อม ร้อยละ 100
50.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า หรือโรคข้อเข่าเสื่อมมีทักษะการดูแลสุขภาพเข่าของตนเองด้วยสมุนไพร
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า หรือโรคข้อเข่าเสื่อมมีทักษะการดูแลสุขภาพเข่าดของตนเองด้วยสมุนไพร ร้อยละ 100
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่าหรือโรคเข่าเสื่อมมีความรู้เกี่ยวกับโรคเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า หรือโรคข้อเข่าเสื่อมมีทักษะการดูแลสุขภาพเข่าของตนเองด้วยสมุนไพร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิบัติการดูแลสุขภาพข้อเข่าด้วยสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายมิตร นวนชุม 2.นางละเอียด สุวรรณชาตรี 3.นางสมจิต ชูแก้ว 4.นางสาวรัตนา กาญจนสิงห์ 5.นางวรรณา ทองด้วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด