กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1.นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร 2.นางเพ็ญ ขาวมาก 3.นายชรินทร์ หนูเกื้อ 4.นางวรรณดี ช่วยมั่ง 5.นางชนม์นิภา ธรรมเพชร

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-02-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3351-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมและป้องกันโรค สามารถดำเนินการทั้งบุคคล ครอบครัว ชุมชน โดยจำเป็นต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจของโรคและกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในชุมชนต่างๆของตำบล ทั้งจากผู้ใหญ่และเยาวชน สามารถเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมด้านสุขภาพ การสื่อสารข่าวสาธารณสุขการแนะนําเผยแพร่ความรู้พื้นฐานได้ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง และการป้องกันโรคการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นตอนโดยใช้ยา และเวชภัณฑ์ รวมทั้งการปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันเด็กและเยาวชนมีบทบาทการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนให้ร่วมกันดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนให้ปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพ การปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนหันมาศึกษาบริบทของชุมชน ทราบข้อมูลโรคและภัยสุขภาพที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมการดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ฝึกให้เยาวชนมีจิตอาสาร่วมกิจกรรมสร้างเสริมให้ชุมชนน่าอยู่ ห่างไกลจากโรคต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้เด็กมีความรู้การจัดการสุขภาพของสมาชิกในครัวเรือน ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายเล็งเห็นกลุ่มเยาวชนเป็นกำลังสำคัญการทำให้ชุมชนน่าอยู่ในอนาคตข้างหน้า ตำบลโคกชะงายยังไม่มี อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพ จึงจัดโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566 ขึ้น เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ ตระหนักถึงความสําคัญของปัญหาสาธารณสุขทั้งในหมู่บ้าน/ชุมชน และให้เยาวชนมีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ต่อให้กับเยาวชนในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้าน ได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำ อสม น้อย มีความรู้การจัดการสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค)
  2. เพื่อให้ตำบลโคกชะงายมีแกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพ (ฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน :โรคไม่ติดต่อ โรคระบาดงานคุ้มครองผู้บริโภค)
  2. อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพลงปฎิบัติงาน
  3. แลกเปลี่ยนปฏิบัติงาน อย. น้อย นักจัดการสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • แกนนำ อสม น้อย มีความรู้การจัดการสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค)ร้อยละ 80
  • ตำบลโคกชะงายมีแกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพสามารถให้ความรู้กับสมาชิกในครอบครัวหรือในชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพ (ฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน :โรคไม่ติดต่อ โรคระบาดงานคุ้มครองผู้บริโภค)

วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการหากลุ่มเป้าหมายเด็กในชุมชนหรือโรงเรียน 2.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพ (ฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน :โรคไม่ติดต่อโรคระบาดงานคุ้มครองผู้บริโภค)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 50 คน จากการอบรมให้ความรู้ แบ่งฐานการเรียนรู้แกนนำ อสม. น้อย ได้รับความรู้และมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนรู้ทั้ง 3 ฐาน คือ ฐานโรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ่มครองผู้บริโภค แต่ละฐานมีใบงานให้ปฏิบัติ พบว่า แกนนำ อสม. น้อยนักจัดการสุขภาพ สามารถทำได้ถูกต้องทุกข้อ ร้อยละ 100.00

 

0 0

2. อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพลงปฎิบัติงาน

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำ อสม. น้อยนักจัดการสุขภาพสามารถนำความรู้กลับไปใช้ดูแลคนในครอบครัว ดูฉลากสินค้าเป็น รวมทั้งป้องกันโรคไข้เลือดออกทั้งที่บ้านและโรงเรียน โดยการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยังลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพ จำนวน 50 คน เป็นนักเรียน เรียนรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อ โรคระบาดและงานคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีใบงานให้ปฏิบัติทุกฐานการเรียนรู้ ในโรงเรียนช่วยการดูแลสุขภาพของนักเรียน รวมทั้งจัดทีมการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน

 

0 0

3. แลกเปลี่ยนปฏิบัติงาน อย. น้อย นักจัดการสุขภาพ

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประสานโรงเรียนเพื่อเชิญแกนนำ อสม.น้อยนักจัดการสุขภาพที่ผ่านการอบรม เพื่่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการทำงาน
  • มอบประกาศนีบัตรให้แกนนำฯ ทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำ อสม. น้อยนักจัดการสุขภาพร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 50 คน นำใบงานมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เล่าประสบการณ์ของตนเอง หลังจากอบรมแล้วกลับไปดูแลสุขภาพของคนที่บ้านและโรงเรียนอย่างไร

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำ อสม น้อย มีความรู้การจัดการสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค)
ตัวชี้วัด : แกนนำ อสม น้อย มีความรู้การจัดการสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค)ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

2 เพื่อให้ตำบลโคกชะงายมีแกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตำบลโคกชะงายมีแกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพในชุมชน จำนวน 50 คน
5.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำ อสม น้อย มีความรู้การจัดการสุขภาพ (โรคไม่ติดต่อ โรคระบาด และงานคุ้มครองผู้บริโภค) (2) เพื่อให้ตำบลโคกชะงายมีแกนนำ อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพ (ฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน :โรคไม่ติดต่อ โรคระบาดงานคุ้มครองผู้บริโภค) (2) อสม. น้อย นักจัดการสุขภาพลงปฎิบัติงาน (3) แลกเปลี่ยนปฏิบัติงาน อย. น้อย นักจัดการสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.น้อย นักจัดการสุขภาพตำบลโคกชะงาย ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3351-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร 2.นางเพ็ญ ขาวมาก 3.นายชรินทร์ หนูเกื้อ 4.นางวรรณดี ช่วยมั่ง 5.นางชนม์นิภา ธรรมเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด