กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแช่เท้าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ ตำบลโคกม่วง ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3312-2-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มสมุนไพรบ้านทุ่งยาว หมู่ที่11
วันที่อนุมัติ 27 ธันวาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 27 ธันวาคม 2565 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 9,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพวงทิพย์ กล้าคง , นางสาวอรสา เกื้อตุ้ง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ ม.11 ตำบลโคกม่วง อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากการคัดกรองโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยงซึ่งมีอายุมากว่า 35 ปี ขึ้นไปในแต่ละปีพบจำนวนผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยชุมชนตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง ประชาการส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรเช่น ทำสวนยางพารา ปลูกผักผลไม้ พืชผักสวนครัว ปลูกสมุนไพรพื้นบ้าน ไว้รับประทานเอง แต่พบปัญหาพื้นฐานในเรื่องสุขภาพ อย่างหนึ่งของชุมชนคือ มีภาวะโรคมากมาย โดยโรคบางโรคต้องพึ่งยาแผนปัจจุบันอย่างเดียว ถึงจะบรรเทาได้ แต่โรคบางโรคไม่ต้องพึ่งยาแผนปัจจุบันก็สามารถ รักษาให้หายได้โดยใช้สมุนไพรวิถีองค์ความรู้ดั้งเดิมถึงจะบรรเทาโรคได้
อาการปวดเมื่อยมักเกิดจากความเจ็บป่วยการเสื่อมในระบบกล้ามเนื้อ การใช้งานกล้ามเนี้อเป็นเวลานานรวมถึงพฤติกรรมการบริโถคและการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมทางสังคมส่งผลกระทบต่อร่างการเช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และมะเร็งโรคดังกล่าวไม่ได้รับการดูแลและป้องกันส่งเสริมการปรับตัวที่ถูกก็ส่งผลให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองและเกิดความพิการตามมาได้ ซึ่งประชาชนกลุ่มเสี่ยงจะมีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป บางครั้งการรักษาโรคดังกล่าวไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดภาวะแซกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดัน จึงได้นำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการนำสมุนไพรมาใช้กับผู้ป่วยดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย เช่นการนวด การประคบ การแช่เท้าด้วยสมุนไพรการดูแลสุขภาพเบื้องต้น กับประชาชนทั่วไปและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการดูแลด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80

40.00 1.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเท้า ได้รับการดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิตโดยวิธีการแพทย์แผนไทย

ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเท้าได้รับการดูแลด้วยวิธีแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80

40.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,800.00 2 9,800.00
3 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 0 6,200.00 6,200.00
3 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมแช่เท้าด้วยสมุนไพร 0 3,600.00 3,600.00
3 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 ฝึกปฏิบัติท่านวดเท้า ท่าบริหารฤาษีดัดตน ท่าบริหารยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 0 0.00 -
4 ม.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมติดตามผลจากการใช้สมุนไพรแช่เท้า 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยที่มีอาการชาปลายเท้า มีระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิตดีขึ้น
  2. ผู้ป่วยรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพเท้าของตนเองเมื่อมีอาการชาเท้า
  3. ผู้ป่วยมีอาการชาปลายเท้าลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2565 11:06 น.