โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
พฤษภาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ ได้มีการพัฒนาจากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรมดังนั้นจึงเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย ซึ่งประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลงผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ได้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลและมีโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) แล้วก็ตามแต่ยังมีพิษภัยจากสารเคมีที่ปนเปื้อนมากับอาหารหรือแฝงมากับภาชนะบรรจุอาหาร “โฟม” ที่นิยมใช้กันทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงาน ดังกล่าวอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสะดวก ราคาถูก และหาซื้อได้ง่ายก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และขยะประเภทโฟมมีปริมาณเพิ่มขึ้นย่างต่อเนื่อง ซึ่งโฟมเป็นขยะที่มีความคงทน และต้องใช้เวลาในการย่อยสลายซึ่งสร้างปัญหาในการกำจัด เนื่องจากต้องใช้พลังงานต้นทุนการกำจัดสูง เปลืองพื้นที่ฝังกลบและขบวน การกำจัดโฟม อาจทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน และภาวะโลกร้อนได้ ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานอาหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆ การบริโภคอาหารที่ใส่กล่องโฟม เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว มีพื้นที่รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน มีประชากรรับผิดชอบ 2,739 คน มีจำนวนหลังคาเรือน 629 หลังประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง รับจ้าง เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวแต่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน วิถีชีวิตชนบทโดยส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารตามสั่ง อาหารปรุงสุกที่บรรจุกล่องโฟม ที่มีจำหน่าย โดยทั่วไปในพื้นที่เนื่องจากไม่มีเวลา ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื่อในระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น ซึ่งโรคเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลายๆมาตรการทุกรูปแบบในการดูแลประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2565 ขึ้นในบริบทพื้นที่ชุมชน ครอบคลุม ร้านขายของชำในชุมชน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนสุขภาพที่ดี และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัยของรัฐ และเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ในการลดความเสี่ยงจาการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน
- 2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน
- 3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ
- 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล
- 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพครอบครัวเครือข่ายคุมครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชนมีความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวังตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกคน
- ไม่พบสารต้องห้ามในร้านขายของชำทุกร้าน
- ร้านชำทุกร้านมีคะแนนผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ
วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมประเมินร้านชำคุณภาพ
-หมู่ที่ 1 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 2 ร้าน
-หมู่ที่ 7 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 6 ร้าน
-หมู่ที่ 9 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 2 ร้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพทุกร้าน
0
0
2. กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล
วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมติดตามประเมินผลการตรวจร้านชำที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในรอบแรก โดยสุ่มตรวจร้านชำไม่บอกล่วงหน้า จำนวน 4 ร้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ร้านชำทั้ง 4 ร้าน ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
0
0
3. 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจ้าของร้านชำ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชน มีการรับรู้ข้อมูลร้านชำคุณภาพร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เจ้าของร้านชำ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชน มีการรับรู้ข้อมูลร้านชำคุณภาพร่วมกัน จำนวน 10 ร้าน
0
0
4. 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ
วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
มีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคผู้นำชุมชนเจ้าของร้าน ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ จำนวน 80 คน
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านทุ่งยาว โดยนาง ศจีรัตน์ หลีวิจิตร เภสัชกรชำนาญการโรงพยาบาลพัทลุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีกิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคผู้นำชุมชนเจ้าของร้าน ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ จำนวน 80 คน ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2566
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพครอบครัวได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีองค์ความรู้ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน
300.00
629.00
300.00
2
2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน
ตัวชี้วัด : เครือข่ายมีความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของร้านอาหารและร้ายขายของชำ
11.00
15.00
10.00
3
3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำได้รับการพัฒนาผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพทุกร้าน
11.00
15.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน (2) 2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน (3) 3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ (2) 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล (4) 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง
พฤษภาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ ได้มีการพัฒนาจากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรมดังนั้นจึงเป็นส่วนที่สำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย ซึ่งประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลงผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปพึ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ได้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลและมีโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) แล้วก็ตามแต่ยังมีพิษภัยจากสารเคมีที่ปนเปื้อนมากับอาหารหรือแฝงมากับภาชนะบรรจุอาหาร “โฟม” ที่นิยมใช้กันทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงาน ดังกล่าวอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสะดวก ราคาถูก และหาซื้อได้ง่ายก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค และขยะประเภทโฟมมีปริมาณเพิ่มขึ้นย่างต่อเนื่อง ซึ่งโฟมเป็นขยะที่มีความคงทน และต้องใช้เวลาในการย่อยสลายซึ่งสร้างปัญหาในการกำจัด เนื่องจากต้องใช้พลังงานต้นทุนการกำจัดสูง เปลืองพื้นที่ฝังกลบและขบวน การกำจัดโฟม อาจทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน และภาวะโลกร้อนได้ ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐานอาหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆ การบริโภคอาหารที่ใส่กล่องโฟม เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว มีพื้นที่รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน มีประชากรรับผิดชอบ 2,739 คน มีจำนวนหลังคาเรือน 629 หลังประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง รับจ้าง เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวแต่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน วิถีชีวิตชนบทโดยส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารตามสั่ง อาหารปรุงสุกที่บรรจุกล่องโฟม ที่มีจำหน่าย โดยทั่วไปในพื้นที่เนื่องจากไม่มีเวลา ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื่อในระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น ซึ่งโรคเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลายๆมาตรการทุกรูปแบบในการดูแลประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2565 ขึ้นในบริบทพื้นที่ชุมชน ครอบคลุม ร้านขายของชำในชุมชน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนสุขภาพที่ดี และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาหารปลอดภัยของรัฐ และเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ในการลดความเสี่ยงจาการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน
- 2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน
- 3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ
- 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ
- กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล
- 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำสุขภาพครอบครัวเครือข่ายคุมครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชนมีความรู้ ทักษะ ในการเฝ้าระวังตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกคน
- ไม่พบสารต้องห้ามในร้านขายของชำทุกร้าน
- ร้านชำทุกร้านมีคะแนนผ่านการประเมินร้านชำคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมประเมินร้านชำคุณภาพ -หมู่ที่ 7 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 6 ร้าน -หมู่ที่ 9 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 2 ร้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพทุกร้าน
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล |
||
วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมติดตามประเมินผลการตรวจร้านชำที่ไม่ผ่านเกณฑ์ในรอบแรก โดยสุ่มตรวจร้านชำไม่บอกล่วงหน้า จำนวน 4 ร้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร้านชำทั้ง 4 ร้าน ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
|
0 | 0 |
3. 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเจ้าของร้านชำ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชน มีการรับรู้ข้อมูลร้านชำคุณภาพร่วมกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเจ้าของร้านชำ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชน มีการรับรู้ข้อมูลร้านชำคุณภาพร่วมกัน จำนวน 10 ร้าน
|
0 | 0 |
4. 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำมีกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคผู้นำชุมชนเจ้าของร้าน ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ จำนวน 80 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีกิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคผู้นำชุมชนเจ้าของร้าน ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ จำนวน 80 คน ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2566
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพครอบครัวได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีองค์ความรู้ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน |
300.00 | 629.00 | 300.00 |
|
2 | 2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน ตัวชี้วัด : เครือข่ายมีความเข้มแข็งในการเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยของร้านอาหารและร้ายขายของชำ |
11.00 | 15.00 | 10.00 |
|
3 | 3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้านชำได้รับการพัฒนาผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพทุกร้าน |
11.00 | 15.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และศักยภาพของแกนนำสุขภาพครอบครัวในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคทุกครัวเรือน (2) 2. เพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของร้านอาหารและร้านขายของชำทุกร้าน (3) 3. เพื่อพัฒนาร้านชำผ่านการดำเนินงานร้านชำคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมแกนนำสุขภาพครอบครัว เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ผู้นำชุมชุ เจ้าของร้านชำ ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบตุณภาพความปลอดภัยของร้านชำ (2) 2. ประเมินร้านชำคุณภาพ (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามและประเมินผล (4) 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......