กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2566 ถึง 5 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2566 - 5 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาของทุกประเทศทั่วโลกปัจจุบันการควบคุมโรคมะเร็งมีเป้าหมายเพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคความทุกข์ทรมานและการตายจากโรคมะเร็งปัญหาของโรคมะเร็งได้เพิ่มมากขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขเมื่อปีพ.ศ. 2564 พบว่าอัตราการตายจากโรคมะเร็งของคนไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2564)โดยโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดคือในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับมะเร็งปอดปากมดลูกมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอัตราอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งทุกชนิดพบว่าการสามารถวินิจฉัยและการรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งปากมดลูกตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสมและทันเหตุการณ์ทำให้สามารถลดอุบัติการณ์เกิดโรคและอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถสืบค้นได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติและการดำเนินของโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปการตรวจค้นหาความผิดปกติของปากมดลูกโดยการทำ HPV DNA TEST จึงมีประโยชน์เพราะได้มีการพิสูจน์อย่างแน่ชัดแล้วว่าสามารถตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกก่อนที่จะเป็นโรคมะเร็งทำให้สามารถรักษาให้หายขาดได้จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวปี 2564 จำนวน 146 คน พบความผิดปกติจำนวน 3 คนได้รับการส่งตัวรักษาต่อ ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีมะเร็งโดยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ทุกคน
  3. เพื่อไม่ให้มีลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแโดยหลังอบรมให้ความรู้จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (อบรม 2 รุ่นๆละ 75 คน)
  2. 2. ส่งต่อพบแพทย์กรณีผลการตรวจผิดปกติ
  3. 3. เรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเห็นความสำคัญของการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกคน
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแโดยหลังอบรมให้ความรู้จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (อบรม 2 รุ่นๆละ 75 คน)

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการอบรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 2 รุ่น
รุ่นละ 75 คน  รุ่นที่ 1 ในวันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 08.30 -16.00 น.  รุ่นที่ 2 ในวันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 08.30 -16.00 น. โดยนางสาวสุสรรณา ทองเที่ยง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.บ้านนาท่อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอบรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมาย เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จำนวน 2 รุ่น
รุ่นละ 75 คน  รุ่นที่ 1 ในวันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 08.30 -16.00 น.  รุ่นที่ 2 ในวันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 08.30 -16.00 น. โดยนางสาวสุสรรณา ทองเที่ยง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.บ้านนาท่อม

 

0 0

2. 2. ส่งต่อพบแพทย์กรณีผลการตรวจผิดปกติ

วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจผิดปกติ จำนวน  3 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทุกราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ผลการตรวจผิดปกติ จำนวน  3 คน ได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์ทุกราย

 

0 0

3. 3. เรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ทุกคน
150.00 200.00 150.00

 

2 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ทุกคน
ตัวชี้วัด : ให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ทุกคน
150.00 200.00 150.00

 

3 เพื่อไม่ให้มีลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ไม่มีลดผู้ป่วยป่วยรายใหม่ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม
1.15 0.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-60 ปี มีความรู้และเห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม ทุกคน (3) เพื่อไม่ให้มีลดอัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแโดยหลังอบรมให้ความรู้จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม (อบรม 2 รุ่นๆละ 75 คน) (2) 2. ส่งต่อพบแพทย์กรณีผลการตรวจผิดปกติ (3) 3. เรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใยสตรีหลีกหนีโรคมะเร็ง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด