กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพาตีเม๊าะ ลาเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2502-65-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กันยายน 2565 ถึง 15 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2502-65-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กันยายน 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 195,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณ และสัดส่วนต่อประชากร กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่าง  มีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจัง และต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัว และชุมชนเนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุข และทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น      แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง  มีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต ปัจจุบันประชากรวัยผู้สูงอายุไทยมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ผลจากความเสื่อมของร่างกายทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ฯลฯ การเตรียมความพร้อม ของทีมสุขภาพในเรื่องเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในการสร้างเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ จากการสังเคราะห์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแต่ละด้าน ด้านอาหารหรือโภชนาการเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโตมีสุขภาพที่สมบูรณ์ เมื่อได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ถูกลักษณะ และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย  ไม่มีสารพิษหรือสิ่งเจือปนที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย อาหารและโภชนาการ การรู้จักเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายเหมาะสมกับวัย จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงดังคำกล่าวที่ว่า “กินอย่างไรได้ อย่างนั้น” ด้านการออกกำลังกาย เป็นประจำส่งผลดีหลายประการ คือ ช่วยเพิ่มปริมาณนำเข้าออกซิเจนที่ ใช้ในร่างกาย ลดอัตราการเต้นของ ชีพจร  ลดความดันโลหิต ลดอัตราการเต้นของ หัวใจ ลดน้ำหนัก ลดปริมาณไขมันและระดับโคเลสเตอรอล ลดจำนวนไขมันเลว (LDL) และเพิ่มปริมาณไขมันดี (HDL) ด้านการจัดการกับความเครียด ความเครียดมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ เช่น ทำให้ บุคคลเกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย รับประทานอาหารมากขึ้น ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ฯลฯ และอุบัติเหตุเป็นสิ่งหนึ่งที่มักเกิดกับผู้สูงอายุโดยเฉพาะ“การหกล้ม” ส่วน ใหญ่เกิดขึ้นในบ้าน เนื่องจากการเดินสะดุด บริเวณที่เกิดเหตุบ่อยคือ ห้องน้ำ และทางเดินนอกตัวบ้าน สาเหตุมาจาก การทรงตัวไม่ดี ขาอ่อนแรง หน้ามืด มี ปัญหาด้านสายตาและการได้ยิน การได้รับยาที่มีผลต่อระบบการไหลเวียนโลหิต เช่น ยาลดความดันโลหิต ส่วนสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม ได้แก่ พื้นลื่น เปียก พื้นผิวขรุขระ ของใช้วางเกะกะรก แสงสว่างไม่เพียงพอ เป็นต้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นนอกจากเกิดบาดแผลตามร่างกายแล้ว บางรายมีการบาดเจ็บจากอวัยวะภายใน บาดเจ็บที่ศีรษะหรือกระดูกหัก ต้องพักรักษาในโรงพยาบาลนาน บางราย เสียชีวิตในเวลาต่อมา ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาและเวลาในการดูแล การสร้างเสริมสุขภาพจึงควรตระหนักถึงปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ เพื่อจะได้ดำเนินการการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม กับวิถีชีวิต และบริบทของผู้สูงอายุ ดังนั้น ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลกาลิซา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565 เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ ให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม และเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณ์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้สูงอายุความรู้ด้านสุขภาพ และการป้องกันโรค 2 ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ตนเองได้

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 1,200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพและการป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองอย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในวัยชรา ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ L2502-65-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพาตีเม๊าะ ลาเซ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด