โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายยัสรูลดีนกานา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสาคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนาโดยแมลง โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้า โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2555 - 2559 พบว่า โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบการระบาดของโรคตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจานวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทาให้เกิดน้าขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายพาหะนาโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกาจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูกาลการระบาดของโรค เพื่อลดจานวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ ส่วนการติดต่อของโรคไข้มาลาเรีย มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนาโรค การระบาดของโรคมาลาเรียเกิดขึ้นได้ในบริเวณแถบชายแดน หรือบริเวณที่เป็นป่าเขา โดยมียุงก้นปล้องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้าลายกัดและปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อาเภอกรงปินังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน 104 ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๗๖.๖๗ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๓๘ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๓๗.๖๓ ต่อแสนประชากร และสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อาเภอกรงปินัง ในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน ๓๓๑ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๑๙๘.๘ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๑๐๕ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๘๐.๒๙ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดของโรคที่สูงขึ้นเรื่อยๆในทุกๆปี
การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตาบลสะเอะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตาบลสะเอะจึงได้จัดทาโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนาโดยแมลง ตาบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2560 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้เลือดออกโรคไข้มาลาเรียก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยใน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ
- ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี
6.๒. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้โรคไข้มาลาเรียลงร้อยละ ๓๐ จากปีที่ผ่านมา
6.๓. ทีม SRRT เครือข่ายระดับตาบล มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์SRRT เครือข่ายระดับตาบล และมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมดาเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สอบสวน ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- อัตราโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งเป้าหมายที่กำหนดไม่ควรเกินร้อยละ 77.29 ต่อแสนประชากร แต่ผลการดำเนินงานพบว่าอัตราป่วยเท่ากับ 182.86 ต่อแสนประชากร ซึ่งไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์
- อัตราโรคมาลาเรียเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 633.38 คิดเป็นอัตรป่วย 448.89 ต่อแสนประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
- ทีม SRRT มีความรู้และเข้าใจในเรื่องการเฝ้าระวังโรคในชุมชน หลังจากมีการอบรมให้ความรู้ และมีการซ้อมแผนจำลองเหตุการณ์ และให้ความสนใจในการตอบคำถามจากท่านวิทยากร ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งเป้าหมายที่กำหนดไม่ควรเกินร้อยละ 73.29 ต่อแสนประชากร แต่ผลการดำเนินงานพบว่าอัตราป่วยเท่ากับ 182.86 ต่อแสนประชากร ซึ่งไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด
2
๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ทีมมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องเฝ้าระวังโรคในชุมชน หลังจากมีการอบรมให้ความรู้ และมีการซ้อมแผนจำลองเหตุการณ์ และให้ความสนใจในการตอบคำถามจากท่านวิทยากร ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ (2) ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยัสรูลดีนกานา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายยัสรูลดีนกานา
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่ยังคงมีความสาคัญในระดับประเทศ ได้แก่ โรคติดต่อ ซึ่งมีทั้งโรคติดต่อนาโดยแมลง โรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้า โรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่จังหวัดยะลา ในปี พ.ศ.2555 - 2559 พบว่า โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่พบการระบาดของโรคตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจานวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทาให้เกิดน้าขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายพาหะนาโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมพร้อมควบคุมกาจัดยุงลายก่อนจะถึงช่วงฤดูกาลการระบาดของโรค เพื่อลดจานวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ ส่วนการติดต่อของโรคไข้มาลาเรีย มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนาโรค การระบาดของโรคมาลาเรียเกิดขึ้นได้ในบริเวณแถบชายแดน หรือบริเวณที่เป็นป่าเขา โดยมียุงก้นปล้องที่มีเชื้อมาลาเรียในต่อมน้าลายกัดและปล่อยเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดคน ซึ่งเป็นวิธีธรรมชาติที่พบได้มากที่สุด สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของพื้นที่อาเภอกรงปินังในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน 104 ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๗๖.๖๗ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๓๘ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๓๗.๖๓ ต่อแสนประชากร และสถานการณ์โรคไข้มาลาเรียของพื้นที่อาเภอกรงปินัง ในช่วง 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2555 - 2559 พบผู้ป่วยจานวน ๓๓๑ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๑๑๙๘.๘ ต่อแสนประชากร เป็นประชาชนในพื้นที่ตาบลสะเอะ จานวน ๑๐๕ ราย อัตราป่วยเท่ากับ ๓๘๐.๒๙ ต่อแสนประชากร และมีแนวโน้มการระบาดของโรคที่สูงขึ้นเรื่อยๆในทุกๆปี การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and rapid response Team: SRRT) ในเรื่องของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ เป็นกลไกหนึ่งที่ในการจัดการกับปัญหาการเกิดโรค ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หรือภัยคุกคามสุขภาพมีผลกระทบทางสุขภาพการเจ็บป่วย และเสียชีวิต สามารถรู้เหตุการณ์ของโรคได้อย่างรวดเร็ว และตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นาชุมชน ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตาบลสะเอะ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตาบลสะเอะจึงได้จัดทาโครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนาโดยแมลง ตาบลสะเอะ ปีงบประมาณ 2560 เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือของโรคไข้เลือดออกโรคไข้มาลาเรียก่อนฤดูกาลระบาด เพื่อลดอัตราป่วย และการค้นหาผู้ป่วยใน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ
- ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี 6.๒. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้โรคไข้มาลาเรียลงร้อยละ ๓๐ จากปีที่ผ่านมา 6.๓. ทีม SRRT เครือข่ายระดับตาบล มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการเฝ้าระวังเหตุการณ์SRRT เครือข่ายระดับตาบล และมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมดาเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สอบสวน ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- อัตราโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งเป้าหมายที่กำหนดไม่ควรเกินร้อยละ 77.29 ต่อแสนประชากร แต่ผลการดำเนินงานพบว่าอัตราป่วยเท่ากับ 182.86 ต่อแสนประชากร ซึ่งไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์
- อัตราโรคมาลาเรียเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 633.38 คิดเป็นอัตรป่วย 448.89 ต่อแสนประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
- ทีม SRRT มีความรู้และเข้าใจในเรื่องการเฝ้าระวังโรคในชุมชน หลังจากมีการอบรมให้ความรู้ และมีการซ้อมแผนจำลองเหตุการณ์ และให้ความสนใจในการตอบคำถามจากท่านวิทยากร ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ซึ่งเป้าหมายที่กำหนดไม่ควรเกินร้อยละ 73.29 ต่อแสนประชากร แต่ผลการดำเนินงานพบว่าอัตราป่วยเท่ากับ 182.86 ต่อแสนประชากร ซึ่งไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด |
|
|||
2 | ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : ทีมมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องเฝ้าระวังโรคในชุมชน หลังจากมีการอบรมให้ความรู้ และมีการซ้อมแผนจำลองเหตุการณ์ และให้ความสนใจในการตอบคำถามจากท่านวิทยากร ซึ่งบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่ตาบลสะเอะ (2) ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งของทีมเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตาบลสะเอะและสร้างเครือข่ายเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคนำโดยแมลงตำบลสะเอะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยัสรูลดีนกานา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......