กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ”



หัวหน้าโครงการ
นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,084.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยก้าวสู่สังคมสูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติที่กำหนดสัดส่วนของประชากร ที่มีอายุขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ สำหรับสถานการณ์ ผู้สูงอายุ ปี 2563 มีประชากรสูงอายุ สูงถึงร้อยละ 18.24 ของประชากรทั้งประเทศและมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุร้อยละ 3.6 ต่อปี ซึ่งตามคาดประมาณการ ของประชากรประเทศไทยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดการณ์ว่าในปี 2566 จะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อย 20.66 และคาดว่าในปี 2578 จะมีประชากรสูงอายุ สูงถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ ทั้งนี้การเตรีมการเพื่อรองรับสถานการณ์สังคมสูงอายุ จึงเป็นประเด็นที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งกระทบต่องบประมาณด้านการรักษาพยาบาล โดยสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ได้คาดประมาณการด้านงบประมาณในการดูแล ระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง เฉลี่ยประมาณ 15,000 ล้านบาท ต่อปี ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จึงเป็นประเด็นสำคัญ เพือลดภาระ ด้านเศรษฐกิจ ของประเทศ สังคม และครอบครัว จากรายงานโครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับบที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ดัชนีวัดที่ 8 สัดส่วนประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้รับผิดชอบหลัก มีเป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 30 ซึ่งพบว่าผลการดำเนินงานได้เพียงร้อยละ 18.7 และในปี 2556 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพร่วมมือสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของผู้สูงอายุ รวมทั้งติดตามผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามแผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และผู้พิการดังกล่าว โดยสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ จำนวน 13,642 คน จาก 28 จังหวัดเป็นตัวแทนครอบคลุมทั้ง 12เครือข่ายบริการ สุขภาพ/ศูนย์อนามัยเขต มีเป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 40 พบว่าผลการดำเนินงานได้ร้อยละ 26.7 ปี 2561 จากการสำรวจโดยกรมอนามัยมีเป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 50 พบว่าผลการดำเนินงานได้ร้อยละ 54.4 และในปี 2562 จากการสำรวจโดยกรมอนามัยมีเป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 50 พบว่าผลการดำเนินงานได้ร้อยละ 52.0 พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทำหรืองดเว้นการกระทำในสิ่งที่มีผลต่อสุขภาพของตนเอง โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และการปฏิบัติตนทางด้านสุขภาพ ด้านต่างๆคือ สุขภาพ จิตใจ/อารมณ์ และสังคม ที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างสมดุล พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ คือ ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมหรือการปฏิบัติตัว ดังนี้ 1. มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ครั้งละ 30 นาที หรือ มีกิจกรรมทางกาย สะสม 150 นาที/สัปดาห์ กิจกรรมทางกายคือการเคลื่อนไหวของร่างกายเกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อและทำให้ร่างกายมีการใช้พลังงาน เพิ่มขึ้นจากขณะพัก ประกอบด้วย การทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การทำงานบ้าน การทำงานอาชีพที่ต้องใช้แรงกาย การเดินทางด้วยจักรยานหรือเดินทาง เดินขึ้นบันได และกิจกรรมยามว่าง เช่น ออกำลังกาย เล่นกีฬา วิ่ง ปั่น จักรยาน และการท่องเที่ยว 2.รับประทานผัก ผลไม้สด เป็นประจำทุกวัน 3.ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว 4. ไม่สูบบุหรี่/ไม่สูบยาเส้น 5.ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ยาดองเหล้า ผ่านการประเมินทั้ง 5 ข้อ ถือว่าผ่านการประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ จากข้อมูลในระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ณ เดือน มิถุนายน 2565 มีผู้สูงอายุจำนวน 785 คน คิดเป็นร้อยละ 14.12 ของประชากรทั้งหมด 5,559 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม 737 คน ร้อยละ 93.89 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 48 คน คิดเป็นร้อยละ 6.11 ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ ของโรพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา ปี 2565 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม และเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีการรวมกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และได้รับความรู้
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สามารถดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม อสม./แกนนำผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียน จัดกลุ่มพูดคุย/แนะนำให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ
  3. 3.ประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 737
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการดูแบสุขภาพแบบองค์รวมด้านกาย จิด สังคม และจิตวิญญาณและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 2.ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีการรวมกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จำนวนผู้เข้าร่วมในแผน/โครงการ/กิจกรรมที่ 1 อบรมแกนนำอสม. และผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ 2 อบรมส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมแก่ผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 450 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีการรวมกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และได้รับความรู้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ มีความรู้ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สามารถดูแลตัวเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
0.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สามารถดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่ได้ประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 797
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 737
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีการรวมกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และได้รับความรู้ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม สามารถดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม อสม./แกนนำผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียน จัดกลุ่มพูดคุย/แนะนำให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ (3) 3.ประเมินพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนินราหม๊ะ หมัดอาดัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด