กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565 ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรอยฮาน มีสาดามะ

ชื่อโครงการ โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2492-2-016 เลขที่ข้อตกลง 16/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2492-2-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 30 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อที่ 1 ร้อยละ ๘๐ ของแกนนำด้านสุขภาพหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โต๊ะบีแดและหมอพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยและพึ่งพาตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมภาคทฤษฎี บรรยายความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ๔ สาขา
  2. กิจกรรมภาคปฏิบัติ การนวดไทยแบบราชสำนัก
  3. กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น
  4. กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติการทำยาดมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
  5. กิจกรรมภาคปฏิบัติ การนวดน้ำมันลังกาสุกะ
  6. กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและพึ่งพาตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมภาคทฤษฎี บรรยายความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ๔ สาขา

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิล (ขนาด 1.2 x 3.0 เมตร) 900 บาท x 1 แผ่น เป็นเงิน 900 บาท
  • ค่าจัดจ้างทำคู่มือประกอบการเรียน 50 บาท x 40 เล่ม เป็นเงิน  2,000  บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์การตรวจคัดกรอง ATK และชุดป้องกัน 100 บาท x 40 คน เป็นเงิน  4,000  บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง พื้นฐานร่างกายมนุษย์ (กายวิภาคทั่วไป) ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง ประวัติและองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง เส้นประธานสิบและการเกิดโรค ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ป้ายไวนิล (ขนาด 1.2 x 3.0 เมตร) จำนวน 1 แผ่น
  • คู่มือประกอบการเรียน จำนวน 40 เล่ม
  • วัสดุอุปกรณ์การตรวจคัดกรอง ATK และชุดป้องกัน จำนวน 40 ชุด
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม  2 มื้อ ๆ ละ 40 กล่อง
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • สมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง พื้นฐานร่างกายมนุษย์ (กายวิภาคทั่วไป) จำนวน 1 คน
  • สมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง ประวัติและองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน
  • สมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง เส้นประธานสิบและการเกิดโรค จำนวน 1 คน

 

40 0

2. กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจัดจ้างทำประกาศนียบัตร 20 บาท x 40 ใบ เป็นเงิน  800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 บาท x 40 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประกาศนียบัตร จำนวน 40 ใบ
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ จำนวน 40 กล่อง

 

40 0

3. กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติการทำยาดมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำยาดมสมุนไพรหอมเย็นชื่นใจ ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำยาดมสมุนไพรหอมเย็นชื่นใจ ชั่วโมงละ 300 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 300 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำลูกประคบสมุนไพรแก้ปวดเมื่อย ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำลูกประคบสมุนไพรแก้ปวดเมื่อย ชั่วโมงละ 300 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าวัสดุสมุนไพรกิจกรรมสาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น การทำยาดมสมุนไพร จำนวน 40 ขวด (เป็นเงินทั้งสิ้น 2,345 บาท)
    1. ค่าเกล็ดพิมเสน ขีดละ 150 บาท x 1 ขีด เป็นเงิน 150 บาท
    2. ค่าการบูร ขีดละ 150 บาท x 1 ขีด เป็นเงิน 150 บาท
    3. ค่าเมนทอล ขีดละ 150 บาท x 2 ขีด เป็นเงิน 300 บาท
    4. ค่าน้ำมันยูคาลิปตัส ขนาด 200 มิลลิลิตร เป็นเงิน 400 บาท
    5. ค่าลูกกระวาน ขีดละ 150 บาท x 3 ขีด เป็นเงิน 450 บาท
    6. ค่ากานพลู ขีดละ 100 บาท x 3 ขีด เป็นเงิน 300 บาท
    7. ค่าพริกไทยดำ ขีดละ 70 บาท x 3 ขีด เป็นเงิน 210 บาท
    8. ค่าลูกจันทน์ ขีดละ 50 บาท x 3 ขีด เป็นเงิน 150 บาท
    9. ค่าขวดแก้ว ใบละ 5 บาท x 40 ขวด เป็นเงิน 200 บาท
    10. ผ้าตาข่าย หลาละ 35 บาท x 1 หลา เป็นเงิน 35 บาท
  • ค่าวัสดุสมุนไพรสาธิตและปฏิบัติกิจกรรมการทำลูกประคบสมุนไพร จำนวน 40 ลูก (เป็นเงินทั้งสิ้น 4,655 บาท)
    1. ค่าเกล็ดพิมเสน ขีดละ 150 บาท x 2 ขีด เป็นเงิน 300 บาท
    2. ค่าการบูร ขีดละ 150 บาท x 4 ขีด เป็นเงิน 600 บาท
    3. ค่าเกลือ กิโลกรัมละ 15 บาท x 1 กิโลกรัม เป็นเงิน 15 บาท
    4. ค่าไพล กิโลกรัมละ 70 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 560 บาท
    5. ค่าขมิ้น กิโลกรัมละ 50 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 200 บาท
    6. ค่าตะไคร้ กิโลกรัมละ 50 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 200 บาท
    7. ค่ามะกรูด กิโลกรัมละ 50 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 160 บาท
    8. ค่าใบมะขาม กิโลกรัมละ 40 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 160 บาท
    9. ค่าใบส้มป่อย กิโลกรัมละ 40 บาท x 4 กิโลกรัม เป็นเงิน 160 บาท
    10. ค่าผ้าดิบ หลาละ 40 บาท x 10 หลา เป็นเงิน 400 บาท
    11. ค่าเชือกขาว ม้วนละ 40 บาท x 5 ม้วน เป็นเงิน 200 บาท
    12. ค่าน้ำมันนวดตัว ขวดละ 100 บาท x 5 ขวด เป็นเงิน 500 บาท
    13. ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การบันทึกผลการนวดและการเขียนกรณีศึกษา (Case Study) ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600 บาท
    14. ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การนวดน้ำมันลังกาสุกะ ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง X 1 คน เป็นเงิน 600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 80 กล่อง
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • สมนาคุณวิทยากรหลัก สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำยาดมสมุนไพรหอมเย็นชื่นใจ จำนวน 1 คน
  • สมนาคุณวิทยากรกลุ่ม สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำยาดมสมุนไพรหอมเย็นชื่นใจ จำนวน 1 คน
  • สมนาคุณวิทยากรหลัก สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำลูกประคบสมุนไพรแก้ปวดเมื่อย จำนวน 1 คน
  • สมนาคุณวิทยากรกลุ่ม สาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น เรื่อง การทำลูกประคบสมุนไพรแก้ปวดเมื่อย จำนวน 1 คน
  • ยาดมสมุนไพร จำนวน 40 ขวด
  • ลูกประคบสมุนไพร จำนวน 40 ลูก

 

40 0

4. กิจกรรมภาคปฏิบัติ การนวดไทยแบบราชสำนัก

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การตรวจร่างกายเบื้องต้น ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 300 บาท x 3 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การตรวจร่างกายเบื้องต้น จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก จำนวน 1 คน

 

40 0

5. กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 4 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 2,400  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 300 บาท x 4 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง เภสัชกรรมไทยเบื้องต้น ชั่วโมงละ 600 บาท x  2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 600 บาท x 4 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยแบบราชสำนัก ชั่วโมงละ 300 บาท x 4 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง เภสัชกรรมไทยเบื้องต้น ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท

 

40 0

6. กิจกรรมภาคปฏิบัติ การนวดน้ำมันลังกาสุกะ

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 บาท x 40 คน x 2 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน x 1 มื้อ x 1 วัน เป็นเงิน 2,000  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 หลังรักษาหาย (Post COVID syndrome) หรือภาวะ Long COVID สำหรับบุคลากรสาธารณสุข ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน  600  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยน้ำมันลังกาสุกะ ชั่วโมงละ 600 บาท x  2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 1,200  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยน้ำมันลังกาสุกะ ชั่วโมงละ 300 บาท x  2 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์แผนไทย ชั่วโมงละ 600 บาท x 1.5 ชั่วโมง x 1 คน  เป็นเงิน 900  บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ชั่วโมงละ 600 บาท x 1 ชั่วโมง x 1 คน เป็นเงิน 600  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 40 กล่อง
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 หลังรักษาหาย (Post COVID syndrome) หรือภาวะ Long COVID สำหรับบุคลากรสาธารณสุข จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยน้ำมันลังกาสุกะ จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม บรรยายภาคปฏิบัติ เรื่อง การนวดไทยน้ำมันลังกาสุกะ จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพแพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรหลัก บรรยายภาคทฤษฎี เรื่อง การตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย จำนวน 1 คน

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อที่ 1 ร้อยละ ๘๐ ของแกนนำด้านสุขภาพหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โต๊ะบีแดและหมอพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 ร้อยละ ๘๐ ของแกนนำด้านสุขภาพหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โต๊ะบีแดและหมอพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
80.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยและพึ่งพาตนเองได้
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 ร้อยละ 80 ประชาชนในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือราเป๊ะสามารถเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มีมาตรฐาน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อที่ 1 ร้อยละ ๘๐ ของแกนนำด้านสุขภาพหรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โต๊ะบีแดและหมอพื้นบ้านมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้ (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักและใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ปลอดภัยและพึ่งพาตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมภาคทฤษฎี บรรยายความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ๔ สาขา (2) กิจกรรมภาคปฏิบัติ  การนวดไทยแบบราชสำนัก (3) กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติเภสัชกรรมไทยเบื้องต้น (4) กิจกรรมสาธิตและปฏิบัติการทำยาดมสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ (5) กิจกรรมภาคปฏิบัติ  การนวดน้ำมันลังกาสุกะ (6) กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสืบสานภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในชุมชน รพ.สต.บือราเป๊ะ ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2492-2-016

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรอยฮาน มีสาดามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด