กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป


“ โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน ”

ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน

ที่อยู่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยุโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนตามหลักการการสาธารณสุขมูลฐาน โดยมีเครือข่ายในการดำเนินงานที่สำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ซึ่งเป็นตัวแทนประชาชน ผู้มีจิตอาสา เสียสละ และเป็นจุดเชื่อมสำคัญที่จะนำนโยบายต่างๆสู่การปฏิบัติในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ในปีที่ผ่านมารัฐบาลได้ให้ความสำคัญด้านสาธารณสุขในการพัฒนายกระดับความรู้ อสม. ให้เป็น อสม.หมอประจำบ้านควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริการสาธารณสุขในชุมชนผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลควบคู่ไปกับการเพิ่มบทบาทของ อสม. เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ ลดความแออัด ลดความเลื่อมล้ำ ไร้รอยต่อ ลดการรอคอย ลดภาระค่าใช้จ่าย และลดการพึ่งพาโรงพยาบาล     อสม.ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยามู ร้อยละ ๘๐ อสม. ยังขาดองค์ความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพ และขาดความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานสุขภาพในชุมชน ดังนั้นเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ อสม. ให้แสดงบทบาทอย่างเข้มแข็งเพื่อเพิ่มศักยภาพ เพิ่มขีดความสามารถของ อสม.ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น จำเป็นจะต้องพัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยามู จึงจัดทำโครงการอบรมฟื้นฟู อสม.หมอประจำบ้าน เพื่อยกระดับอสม. เป็นอสม. หมอประจำบ้าน ขึ้นเพื่อให้ อสม.ที่ผ่านการอบรมแล้วมีความรู้ เกิดทักษะในการดูแลสุขภาพ เป็นพี่เลี้ยงและสนับสนุนให้มีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ทุกครอบครัว ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง กลุ่มภาวะพึ่งพิง และกลุ่มครอบครัวทั่วไปในละแวกบ้าน เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ ลดโรคเรื้อรัง และเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพ เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนมีสุขภาพดี พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ (หมายเหตุ: อสม.หมอประจำบ้าน คือ ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามาทำงานเป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ได้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร อสม.หมอประจำบ้านและทำหน้าที่เป็นผู้นำจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนร่วมกับ อสม.อสค.ทีมหมอครอบครัว เครือข่ายสุขภาพและประชาชนในพื้นที่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1
  2. กิจกรรม 2
  3. กิจกรรมที่ 3
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  5. ฝึกปฏิบัติงานในพื้นที่จำนวน 2 ครั้ง
  6. อสม.นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ปฏิบัติงานในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ยกระดับ อสม.เป็น อสม.หมอประจำบ้าน 2.อสม.หมอประจำบ้านมีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง สามารถนำเทคโนโลยีสื่อสารทางการแพทย์ในชุมชนผ่านระบบออนไลน์ และเป็นแกนนำด้านการดูแลสุขภาพในชุมช 3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี พึ่งพาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรม 2 (3) กิจกรรมที่ 3 (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ (5) ฝึกปฏิบัติงานในพื้นที่จำนวน 2 ครั้ง (6) อสม.นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ปฏิบัติงานในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูอสม.หมอประจำบ้าน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด