กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา


“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565 ”

ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม.สอ.เฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลนิคมพัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นิคมพัฒนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยประสบปัญหาเด็กเกิดน้อย จำนวนการเกิดลดลงต่อเนื่องจากที่เคยมีเด็กเกิดมากกว่า 1 ล้านคนต่อปี ลดลงเหลือเพียง 587,368 คน ในปี 2563 (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2563) อัตราเจริญพันธุ์รวมลดลงจากเดิมผู้หญิงหนึ่งคนมีบุตรเฉลี่ยตลอดวัยเจริญพันธุ์มากถึง 6 คน แต่ปัจจุบันมีบุตรเฉลี่ยเพียง 1.53 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับทดแทน (นงนุช จินดารัตนาภรณ์, 2563) นอกจากปัญหาจำนวนการเกิดที่ลดลงแล้ว ประเทศไทยยังประสบกับปัญหาคุณภาพการเกิดและการเจริญเติบโตของเด็ก มีเด็กพิการแต่กำเนิดปีละประมาณ 30,000 คน อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การคลอดก่อนกำหนด ส่งผลต่อพัฒนาการเจริญเติบโต สติปัญญา และการเรียนรู้ของเด็ก นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการคลอดก่อนกำหนดและทารกน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (สุรพันธ์ แสงสว่าง และคณะ, 2558)อย่างที่ทราบกันว่าเด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ การเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสมองอย่างเหมาะสม การดูแลจัดการอาหารและโภชนาการรวมถึงภาวะการเจริญเติบโต เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน ผอม/เตี้ย เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์ให้มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ ดูแลขณะกำลังตั้งครรภ์รวมถึงเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี จึงมีความจำเป็นมากในปัจจุบัน เพราะเป็น “โอกาสทอง” ที่เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายและพัฒนาการด้านต่าง ๆ สูงที่สุด ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดี โดยเริ่มต้นจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญในการกระตุ้นส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก พื้นที่หมู่ที่ 1 ,2 ,3 ,7 ,8 และ 9 ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี นิคมพัฒนา ในปี 2564พบว่า การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 78.95 ,หญิงตั้งครรภ์พบภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 20.93 ,หญิงตั้งครรภ์มีภาวะทุพโภชนาการ (น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) ร้อยละ 23.25 , หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 9.30 , เด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม พบร้อยละ 18.54 ,เด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 6 เดือนตรวจคัดกรองและพบโลหิตจาง ร้อยละ 21.50 , เด็กแรกเกิด – 5 ปี ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ร้อยละ 91.82 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 54.04 (ข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพ : HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564)
ซึ่งปัญหาสุขภาพที่พบเหล่านี้มีผลกระทบต่อการจะทำให้ทารกเจริญเติบโตและพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพในอนาคตข้างหน้าทั้งสิ้น
จากการเรียนรู้กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิตฯ ได้แก่ การค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์วางแผนจะตั้งครรภ์ , การฝากครรภ์คุณภาพ , โภชนาการหญิงตั้งครรภ์ ,การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ,การส่งเสริมและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก,การส่งเสริม กิน กอด เล่น เล่า ,การส่งเสริมการเจริญเติบโตและอาหารตามวัยในเด็ก พบว่าในทุกประเด็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการดังกล่าวอย่างต่อเนื่องและสามารถบรรลุผลได้ และในบางประเด็นต้องอาศัยวัสดุที่จำเป็นในการแก้ไขปัญหาร่วมด้วย เช่นเรื่องโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ จำเป็นต้องส่งเสริมและจัดหาสารอาหารประเภทโปรตีน จำพวก นม และไข่ เพิ่มเติมให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายขณะตั้งครรภ์ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในครรภ์ จากสถานการณ์และปัญหาข้างต้น ชมรมอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีนิคมพัฒนา ตำบลนิคมพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต และอีก 1,500 วัน (อายุ 2 – 6 ปี) ของเด็กปฐมวัย จึงจัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน แรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะ แสนดี ปี 2565 เพื่อผลักดันให้เกิดการทำงานร่วมกันแบบการบูรณาการ และการลงทุนของภาคีเครือข่ายในพื้นที่เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเด็กไทยแข็งแรง เก่งดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และสามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่องอันจะนำไปสู่คนไทยที่มีปัญญาเฉียบแหลม มีทักษะที่เห็นผล มีสุขภาพแข็งแรงและมีจิตใจที่งดงามในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสำหรับหญิงตั้งครรภ์
  2. กิจกรรมประชุมและพัฒนาศักยภาพทีมพัฒนาเด็กและครอยครัว(CFT) เป็นเวลา 3 ครั้ง
  3. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนนำสุขภาพแม่แหละเด็ก มิสพันวัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 มีทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวระดับชุมชนและตำบล ที่สามารถขับเคลื่อนการดำเนินการโครงการได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ 8.2 ลดปัญหาด้านสุขภาพกายและใจแก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว เพิ่มคุณภาพลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 8.3 เป็นจุดเริ่มต้นในการผลักดันให้ครอบครัวและชุมชนร่วมมือกันแก้ไขปัญหาสังคมของชุมชนอย่างแท้จริง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมประชุมและพัฒนาศักยภาพทีมพัฒนาเด็กและครอยครัว(CFT) เป็นเวลา 3 ครั้ง (3) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มแกนนำสุขภาพแม่แหละเด็ก มิสพันวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สู่ 1,500 วัน หนูน้อยอัจฉริยะแสนดี ปี 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม.สอ.เฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลนิคมพัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด