กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสนามเด็กเล่นเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
รหัสโครงการ 65-L5182-02-6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหว้าหลัง
วันที่อนุมัติ 22 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 22 กันยายน 2565 - 30 มิถุนายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนบ้านหว้าหลัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านหว้าหลัง ต.นาหว้า อ.จะนะ จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะการเจริญเติบโตสมวัย
65.00
2 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนมีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนจัดการเรียนรู้ Active Learning
50.25
3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง ถึง มาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
65.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบันโรงเรียนบ้านหว้าหลังมีนักเรียนทั้งหมด ๓๓ คนเป็นนักเรียนชั้นปฐมวัย จำนวน ๖ คนระดับประถมศึกษา จำนวน๒๗คนมีภาวะร่างกายตามหลักโภชนาการเป็นไปตามปกติและมีสมรรถนะทางร่างกาย การเจริญเติบโตสมวัย คิดเป็นร้อยละ ๖๐เนื่องจากนักเรียนไม่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะทางร่างกายอย่างเพียงพอและเหมาะสมสาเหตุที่สำคัญเกิดจากทางโรงเรียนยังขาดแคลนสนามเด็กเล่นที่มีความสมบูรณ์เนื่องจากสนามเด็กเล่นชำรุด ผุพัง ขึ้นสนิมเกินกว่าจะซ่อมแซมเสี่ยงต่อการใช้ประโยชน์ในการเล่นซึ่งทางโรงเรียนได้พยายามฝึกประสบการณ์ด้วยการละเล่นพื้นบ้าน หรือวิธีการอื่นๆในการนี้เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์และสามารถพัฒนาสมรรถนะทางร่างกายและการเจริญเติบโตให้สมวัยของนักเรียนระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษาให้มีร้อยละในการพัฒนาในระดับที่สูงขึ้นแต่ยังไม่เป็นไปตามความคาดหวังทั้งนี้เพื่อเป็นการให้สอดคล้องตอบสนองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖การพัฒนาเด็กให้ครบทั้ง๔ด้านคือ ร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญาเป็นสิ่งสำคัญสำหรับเด็กทางโรงเรียนเห็นว่าสนามเด็กเล่นในโรงเรียนมีความสำคัญมากต่อพัฒนาการดังกล่าวของนักเรียนจึงเห็นควรให้มีการปรับปรุงพื้นที่สนามเด็กเล่นสนามโดยใช้วัสดุท้องถิ่นที่มีความคงทน ราคาถูกปลอดภัยจัดทำอย่างมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนทั้งยังเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งระหว่างโรงเรียนและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะการเจริญเติบโตสมวัย

เพื่อให้นักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตสมวัย

65.00 80.00
2 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนมีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนจัดการเรียนรู้ Active Learning

เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนมีเวลาในการเรียนการสอน ส่งเสริมให้นักเรียนจัดการเรียนรู้ Active learning

50.25 58.00
3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง ถึง มาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

เพื่อให้นักเรียนมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง ถึง มาก อย่างน้อย ๖๐  นาทีต่อวัน)

65.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,000.00 4 27,000.00
22 ก.ย. 65 ประชุมคณะทำงาน 0 350.00 350.00
11 พ.ย. 65 ขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย 0 18,450.00 18,450.00
18 พ.ย. 65 อบรมเชิงปฏิบัติการ การออกกำลังกายและเครื่องเล่นสนามกับพัฒนาการของนักเรียนพร้อมจัดทำเรื่องเล่นสนามจากวัสดุท้องถิ่น 0 7,450.00 7,450.00
21 พ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 กิจกรรมส่งเสริมเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความสุขกับการเล่น 0 0.00 -
21 พ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ประเมินภาวะสุขภาพจากน้ำหนักและส่วนสูงของนักเรียน 0 0.00 -
31 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการดำเนินงาน 0 750.00 750.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีการพัฒนาศักยภาพด้านสมองของเด็กจากการเคลื่อนไหวมีการพัฒนาการทุกด้านเหมาะสมตามวัย
  2. นักเรียนได้ฝึกความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่มีสมรรถนะทางกายและสภาวะการเจริญเติบโตสมวัย
  3. นักเรียนมีเครื่องเล่นสนามที่เหมาะสมตามวัยมีความปลอดภัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.ย. 2565 15:10 น.