กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ ”



หัวหน้าโครงการ
นางไกรรัตน์ บุตรบุรี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 26

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2565 - 30 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) หรือ กลุ่มโรควิถีชีวิต ได้แก่ เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด และ กลุ่มโรคมะเร็ง โดยพบว่าการขาดกิจกรรมทางกายส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต ๓.๒ ล้านคน ต่อปีของทั้งโลก ประเทศไทยพบอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถึงร้อยละ ๗๑ ของการเสียชีวิตทั้งหมด โดยการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต ๑๑,๑๑๙ ราย ซึ่งจังหวัดสงขลาพบสาเหตุการเสียชีวิต ๑๐ อันดับแรก เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การส่งเสริมการออกกำลังกายหรือการมีกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ เป็นการส่งเสริมให้มีการขยับเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ในอิริยาบถต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิดการใช้ และเผาผลาญพลังงานโดยกล้ามเนื้อ อันครอบคลุมการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมดในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเดินทางและกิจกรรมนันทนาการ การมีกิจกรรมทางกาย ไม่ว่าจะมีระยะเวลารูปแบบหรือความหนักเบาเท่าไร ย่อมดีกว่าการไม่มีกิจกรรมทางกาย หรือมีแต่พฤติกรรมเนือยนิ่ง ดังนั้นการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย จึงให้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อสุขภาพของประชาชน เพราะการมีกิจกรรมทางกาย ช่วยลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรังและช่วยพัฒนาสุขภาพจิตของผู้ใหญ่ ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น บ้านวังพา มีกลุ่มออกกำลังกายในพื้นที่ ที่รวมกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมการออกกำลังกายร่วมกันมาอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย กลุ่มแอโรบิค บาสโลบเพื่อสุขภาพ จนกระทั่งต้นปี ๒๕๖๓ ถึง ปี ๒๕๖๔ ได้มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลกระทบให้การรวมกลุ่มเพื่อออกกำลังกายของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป ตามแนวคิด “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ”และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด – ๑๙ อย่างเคร่งครัด ทำให้ประชาชนมีการออกกำลังกายลดลง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนเป็นอย่างยิ่ง และในต้นปี ๒๕๖๕ รัฐได้มีการผ่อนคลายมาตรการป้องกันโรคโควิด-๑๙ ลง โดยสามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้ภายใต้มาตรการป้องกันโรคที่กำหนด กลุ่มแอโรบิคบ้านวังพา ได้มีการรวมตัวของสมาชิกที่มีความชื่นชอบรูปแบบการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ทุกวัน ณ สนามโรงเรียนบ้านวังพา ซึ่งรูปแบบการออกกำลังกายดังกล่าวเหมาะกับประชาชนบางกลุ่มเท่านั้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยในชุมชนบ้านวังพา โดยเฉพาะผู้สูงอายุ มีรูปแบบการออกกำลังกายทางเลือกที่เหมาะกับวัย มีสถานที่เพื่อทำกิจกรรมทางกายร่วมกันในชุมชน กลุ่มรักษ์สุขภาพบ้านวังพา เล็งเห็นความสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายในชุมชนบ้านวังพา แก่ประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่พบว่าร่างกายของผู้สูงอายุจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมสภาพตามวัย ให้มีรูปแบบการออกกำลังกายทางเลือกที่เหมาะสมกับวัย จึงจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเต้นลีลาศ เพื่อขอรับงบประมาณอุดหนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ในการขับเคลื่อนให้ประชาชนในชุมชนบ้านวังพา โดยการสร้างกระแสและส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่หรือพื้นที่ใกล้เคียงมีรูปแบบการออกกำลังกายทางเลือก เพื่อสุขภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  2. จัดงาน“รักษ์สุขภาพ”
  3. กิจกรรมออกกำลังกาย ด้วยการเต้น ลีลาศ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สมาชิกและประชาชนบ้านวังพา มีรูปแบบการออกกำลังกายทางเลือก เพื่อการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2.จัดงาน "รักษ์สุขภาพ" ณ วัดวังพาคีรีวงศ์ ในเดือนตุลาคม 2565 3.จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศ ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 17.00 - 18.00 น. ซึ่งได้รับความสนใจและความร่วมมือ จากสมาชิกและประชาชนในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียงเป็นอย่างดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน (2) จัดงาน“รักษ์สุขภาพ” (3) กิจกรรมออกกำลังกาย ด้วยการเต้น  ลีลาศ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นลีลาศ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไกรรัตน์ บุตรบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด