กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนัศรุดดีน เจตนรากุล

ชื่อโครงการ โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2492-1-3 เลขที่ข้อตกลง 02/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 ตุลาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2492-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ยังขาดภูมิคุ้มกัน และทักษะในการดำเนินชีวิตภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมในยุคปัจจุบัน มาตรการที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและมีความยั่งยืนประการหนึ่ง คือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยง และหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ เด็กและเยาวชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคมด้วย การให้ความสำคัญในการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชนเรื่องโรคเอดส์ยังคงเป็นมาตรการที่ต้องดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา ตลอดจนผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียน ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การระบาดของโรคเอดส์กับเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ อีกทั้งการป้องกันการติดเชื้อเอดส์ในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ เช่น ผู้ใช้แรงงาน หญิงตั้งครรภ์ ผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด เป็นต้น การดูแลและรักษาผู้ติดเชื้อเอดส์ การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปรับทัศนคติของประชาชนในชุมชนในการลดการตีตรา การรังเกียจต่อผู้ติดเชื้อเอดส์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้ ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดโครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน มุ่งเน้นให้เยาวชน ผู้ปกครองและประชาชนผู้สนใจ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากโรคเอดส์ ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการมีเพศสัมพันธ์ที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้ ความ เข้าใจเรื่องโรคเอดส์อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองสามารถประเมิน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
  3. เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีการดูแลสุขภาพ ในการป้องกันโรคเอดส์อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองเข้าถึงทางเลือกใน การป้องกันที่หลากหลายและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ในตำบลโคกเคียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์อย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น ๒. เยาวชนและผู้ปกครองสามารถประเมินความเสี่ยงที่เกิดขึ้น 3. เยาวชนและผู้ปกครองมีการดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคเอดส์อย่างถูกต้อง 4. เยาวชนและผู้ปกครองเข้าถึงทางเลือกในการป้องกันที่หลากหลายและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. - กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 17 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิลโครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน  ขนาด 1.00 x 3.00 เมตร  จำนวน 1 ป้าย  เป็นเงิน 750 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 วันๆ ละ 1 คนๆ ละ 5 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท  เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 วันๆ ละ 130 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 60 บาท  เป็นเงิน 15,600 บาท
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 วันๆ ละ 130 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 35 บาท  เป็นเงิน 18,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ป้ายไวนิลโครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน    จำนวน 1 ป้าย
  • วิทยากร จำนวน 2 วันๆ ละ 1 คน
  • อาหารกลางวัน จำนวน 2 วันๆ ละ 130 คนๆ ละ 1 มื้อ
  • อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 วันๆ ละ 130 คนๆ ละ 2 มื้อ

 

130 0

2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ในตำบลโคกเคียน

วันที่ 17 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ในตำบลโคกเคียน 1.00 x 2.00 เมตร  จำนวน 2 ป้ายๆ ละ 500 บาท  เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ในตำบลโคกเคียน  จำนวน 2 ป้าย

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้ ความ เข้าใจเรื่องโรคเอดส์อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองสามารถประเมิน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด : เยาวชนและผู้ปกครองสามารถประเมินความเสี่ยงที่เกิดขึ้น 80
80.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีการดูแลสุขภาพ ในการป้องกันโรคเอดส์อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เยาวชนและผู้ปกครองมีการดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคเอดส์อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
100.00

 

4 เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองเข้าถึงทางเลือกใน การป้องกันที่หลากหลายและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เยาวชนและผู้ปกครองเข้าถึงทางเลือกในการป้องกันที่หลากหลายและเหมาะสม ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้ ความ  เข้าใจเรื่องโรคเอดส์อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองสามารถประเมิน  ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น (3) เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองมีการดูแลสุขภาพ ในการป้องกันโรคเอดส์อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้เยาวชนและผู้ปกครองเข้าถึงทางเลือกใน การป้องกันที่หลากหลายและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ในตำบลโคกเคียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อเอดส์ในตำบลโคกเคียน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2492-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนัศรุดดีน เจตนรากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด