กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวดี จารุเศรษฐ๊

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7252-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7252-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปรัชญางานสร้างเสริมภูมิคุ้นกันโรคของประเทศ "บคุคลที่อาศัยในประเทศไทยทุกคนต้องสามารถเข้าถึง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคที่จำเป็น มีคุณภาพ และปลอดภัย โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา หรือเศรษฐานะ" การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคถือเป็นการป้องกันในระดับปฐมภูมิและเป็นการบริการด้านการสาธารณสุขพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคน แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในประเทศไทย หรือ Expanded Program on Immunization (EPI) ได้พัมนาและมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด เพื่อให้ทันกับการจัดการกับโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดบริการวัคซีนพื้นฐานที่เด็กไทยทุกคนควรได้รับ โดยเน้นวัคซีนป้องกันโรค ที่เป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งในปัจจุบันประกอบด้วย วัคซีน 8 ชนิด ได้แก่ ;วัคซีนวัณโรค (BCG) วัคซีนตับอักเสบบี (HB) วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี (DTP-HB) วัคซีนโปลิโอ (OPV) วัคซีนรวมหัด คางทูม หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (JE) วัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTP) และวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก (DT) โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดระบบบริการเพื่อให้เด็กทุกคนในประเทศได้รับวัคซีนตามกำหนดโดยให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐเป็นหน่วยบริการหลัก งานศูนย์บริการสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดี เพราะมีภูมิฯ เทศบาลเมืองสะเดา ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อให้ความรู้แก่ อสม.และบุคคลากรที่เกี่ยวข้องในการส่งต่อความรู้สู่ชุมชน และนำไปใช้ได้ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก 0-5 ปี และคุณครูอนามัยโรงเรียนซึ่งทำหน้าที่ดูแลนักเรียนในโรงเรียนและเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ใเนรื่องวัคซีนพื้นฐาน
  2. 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี เด็กนักเรียน ป.1,ป.5 (นักเรียนหญิง) ,ป.6 และต่างด้าวอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานของกระทรวงสาธารณสุข
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสะเดาได้รับวัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และป้องกันความรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้น หากมีการติดเชื้ออย่างครอบคลุมในทุกช่วงอายุ และทุกกลุ่มโรค
  4. 4. เพื่อให้อสม. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีนและอาการของโรคต่างๆ ในเบื้องต้น สามรถประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี และนักเรียน ทราบและให้ความร่วมมือนำเด็กที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานในสถานบริการต่างๆ
  5. 5. เพื่อป้องกันการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถรับมือแก้ไขสถานการณ์ได้ทันทีหากเกิดการระบาดของโรคขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.เด็กที่มีอายุต่ำกว่า ๕ ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ๒ ครั้ง มีความครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐
        ๒.ประชาชนให้ความสำคัญในการนำบุตรหลาน มารับวัคซีนป้องกันโรคหัด     ๓.เด็กนักเรียนหญิงที่กำลังศึกษาในระดับชั้นป.๕ ได้รับวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ครอบคลุม ร้อยละ ๘๕     ๔.ครูงานอนามัยโรงเรียน ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และอสม.ที่เข้าร่วมอบรม มีความรู้ในเรื่องวัคซีนพื้นฐาน การประเมิน ติดตามอาการจากภาวะแทรกซ้อนภายหลังจากการได้รับวัคซีน สามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองในชุมชนและติดตามค้นหากลุ่มเป้าหมายในชุมชนได้     5.ประชาชนในกลุ่มอายุ12 ปีขึ้นไปที่มีภูมิลำเนา,รายชื่ออยู่ในเขตเทศบาลเมืองสะเดาได้รับวัคซีนเกิน80%     6.ผู้ที่รับวัคซีนแล้วไม่เกิดการเสียชีวิตด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก 0-5 ปี และคุณครูอนามัยโรงเรียนซึ่งทำหน้าที่ดูแลนักเรียนในโรงเรียนและเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ใเนรื่องวัคซีนพื้นฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี เด็กนักเรียน ป.1,ป.5 (นักเรียนหญิง) ,ป.6 และต่างด้าวอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานของกระทรวงสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสะเดาได้รับวัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และป้องกันความรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้น หากมีการติดเชื้ออย่างครอบคลุมในทุกช่วงอายุ และทุกกลุ่มโรค
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้อสม. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีนและอาการของโรคต่างๆ ในเบื้องต้น สามรถประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี และนักเรียน ทราบและให้ความร่วมมือนำเด็กที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานในสถานบริการต่างๆ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5. เพื่อป้องกันการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถรับมือแก้ไขสถานการณ์ได้ทันทีหากเกิดการระบาดของโรคขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลเด็ก 0-5 ปี และคุณครูอนามัยโรงเรียนซึ่งทำหน้าที่ดูแลนักเรียนในโรงเรียนและเด็กนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ใเนรื่องวัคซีนพื้นฐาน (2) 2. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี เด็กนักเรียน ป.1,ป.5 (นักเรียนหญิง) ,ป.6 และต่างด้าวอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานของกระทรวงสาธารณสุข (3) 3. เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองสะเดาได้รับวัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 และป้องกันความรุนแรงของโรคที่อาจเกิดขึ้น หากมีการติดเชื้ออย่างครอบคลุมในทุกช่วงอายุ และทุกกลุ่มโรค (4) 4. เพื่อให้อสม. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีนและอาการของโรคต่างๆ ในเบื้องต้น สามรถประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี และนักเรียน ทราบและให้ความร่วมมือนำเด็กที่ยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ ได้รับวัคซีนตามแผนการให้วัคซีนพื้นฐานในสถานบริการต่างๆ (5) 5. เพื่อป้องกันการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถรับมือแก้ไขสถานการณ์ได้ทันทีหากเกิดการระบาดของโรคขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพดีเพราะมีภูมิฯ ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L7252-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาวดี จารุเศรษฐ๊ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด